วันเสาร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2559

LM6003 : Transportation and Distribution Network Management



Lecture LM6003 : Transportation and Distribution Network Management


###################################@1# 20160109#################################

วิชานี้เป็นวิชาหลัก อยู่ในการสอบ Comprehensive ด้วย

Introduction


คะแนน 3 ส่วน
1. Class assignment + Lab = 20%
2. Midterm = 30%
3. Final = 30%
4. Group Project 3 Persons = 20%

23 ม.ค. หยุดไม่มีการเรียนการสอน
16 เม.ย. หยุดสงการนต์ (เรียนวันที่ 9 เม.ย.)
1-5 พ.ค. หยุด LM8 ไปเซี่ยงไฮ้

7-11 พค. present

หัวข้อ Project ส่ง Proposal Week ที่ 4 จำนวน 5 หน้า
เน้นการเรียนรู้ในการทำโครงงาน

คิดหัวข้อโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้า

1. การขนส่งสินค้าบนโครงข่างทางหลวงสายอาเซียน
2. การขนส่งสินค้าด้วยระบบโครงข่ายรถฟและการเปลี่ยนถ่ายสินค้าที่สถานี ICD
3. การขนส่งและกระจายสินค้าของธุรกิจ E-Commerce
4. การขส่งสินค้าทางอากาศกลุ่ม Air Cargo (เน้นสินค้ามูลค่าสูง หรือ สินค้าเน่าเสียง่ายแต่มีมูลค่าสูง)
5. การประยุกต์ใช้ตัวแบบ Location Model
6. การเชื่อมโยงการค้าในประเทศกลุ่ม CLMV (Cambodia,Laos,Mynmar,Vietnam)
7. การเชื่อมโญงการค้าในประเทศ ASEAN+3 (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
8. การประยุกต์ตัวแบบการจัดเส้นทางการเดินรถ
9. Topic of your choice

Transportation and Logistics

Transport ไม่ใช่ความต้องการที่อยากจะเดินทาง แต่คือความต้องการที่จะต้องส่งสินค้าให้กับลูกค้า เป็น การสนองจุดประสงค์ Derived demand

Direct Demand
 - Commute (การทำงาน)
 - Taxi / Air travel
 - Truck Containership

Indirect Transportation
 - Services
- Warehouse

ความแตกต่างระหว่าง Logistics vs Transportation


 Logistics เกี่ยวข้องมากกว่าการขนส่งอย่างเดียว มีเรื่องการจัดการด้วย ถ้าทำหน้าที่ส่งจาก A -> B จะเป็น (Carrier อย่างเดียว) ถือว่า เป็นTransportation อย่างเดียว

เปรียบเทียบโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมไทย และต่างประเทศ

ในโลก

Road Quality 
ไทย  อยู่อันดับที่ 36 ถือ ว่าไม่ได้แย่
Singapore อันดับ 1

Rail way Quality
ไทย อันดับ 57
HongKong 2

Port Quality
ไทย 43
HongKong 1

Air Transport Quality
ไทย ดันดับ 28 ถือว่า ดี สุดถ้าเทียบกับ 3 รูปแบบก่อน
Hongkong 1

ตอนนี้ สุวรรณภูมิกำลังทำ Terminal ที่ 2 เพราะว่า คนเกินความจุ แล้ว กะว่าจำทำรถไฟใต้ดินเชื่อมต่อ

โครงสร้างพื้นฐาน

กำลังจะสร้าง Motor Way 2 สายใหม่
บางปะอิน - โคราช (บางส่วนจะเป็นสายใหม่ บางส่วนยกระดับ คู่กับสายมิตรภาพ)
พัทยา - มาบตะพุต

รูปแบบการขนส่งสินค้า

ทางถนน เยอะสุด 86% ต้นทุนเฉลี่ย 1.72 บาทต่อ ตัน-กม.
ทางน้ำ รองลงมา ต้นทุน เฉ,ี่ย 0.64 บาทต่อ ตัน-กม.
ทางราง รองลงมา ต้นทุน เฉลี่ย 0.93 บาทตอ ตัน-กม.

ต้นทุน Logistics 2555 อยู่ที่ 15 % (1.75 ล้านล้านบาท)

สัดส่วนการใช้พลังงานของประเทศ (ไปเอารูปมาใ่ (หน้า 19)

การลงทุนในรถไฟความเร็วสูง


จะมองแต่ Direct Benefit ไม่ได้ จะต้องมองที่ Indirect Benefit ด้วย
ได้แก่ VOC = Cost of Vehicle
VOT = Value of Time
อุบัติเหตุลด
มลพิษลด

Public private partnership (PPP) ประชารัฐ

ประชา + รัฐ = รัฐไม่ได้มีเงินเยอะที่จะลงทุน ก็จะหาคนมาลงทุนด้วย


MRT ใช้ BMCL ในการบริหารจัดการ แชร์กำไรกัน (อ.ย้ำบ่อยนะ)

BECL สำหรับ บริหาร Express Way.

พื้นที่เศรษฐกิจระยะที่ 2 มีกี่แห่ง (ออกสอบ!!!)



โครงข่ายถนนเชื่อมโยง AEC : Asean High Way
ตัวย่่อชื่อถนน AH ขึ้นหน้า

Assignment 1 ส่งอาทิตย์หน้า






System

อะไรคือ system
System ประกอบไปด้วยอะไร
- People
-Equipment
-Software
-Facilities
ต้องทำงานด้วยกัน
มีหน้าที่การทำงานอย่างไร
มีวงจรชีวิตอย่างไร
- Design (ออกแบบ)
- Develop (ก่อสร้าง เช่น สร้างทาง ทำกี่กิโลดี สูงแค่ไหน)
- Operation Maintenance ( เริ่มเสื่อมก็ต้องมีการบำรุง)

ตัวอย่าง System
- Transport
   + Metrorail , Air traffic control rail network, interstate highways (ตัวย่อ I เช่น I18)
- Communication
   + Telephone system, Computer networks, Satellite networks
- Information Systems
   + Inventory , Accounting
- Military Systems
   + Command and control,Transporatation, Intelligence(สายลับ ข่าวกรอง),logistics
- Natural Systems
= Acitlivty event network (เอารูปมาใส่)
= Reliability (เอารูปมาใส่)

Transport System
เกิดจาก สิ่งประกอบได้แก่ fixed facility (สนามบิน,รถไฟ) ซึ่ง entities เป้นคนเข้าไปใช้ โดยจะต้องมีการควบคุม (Control Systems (ไฟแดง,ด่านเก็บเงิน,เข้าออกตรงไหนได้)) ที่อนุญาติให้คน (people) และสินค้า (Goods) ชนะ ระยะทาง (geographical space) อย่างมีประสิทธิภาพและ ตรงเวลา ซึ่งตอบสนองต่อ Activity ที่ต้องการได้ (desired activity) 

System Activity Characteristics
- Desired activity : Transport เป็น Derived Demand หมายความว่าอย่างไร ไปดูมา สอบ!!!!
- Timely : ต้องตรงต่อเวลา
- Efficiently (Cost ต่ำ ความปลอดภัย)
- Overcome geographical space (ข้ามสิ่งต่างๆ เช่น ข้ามทวีป ,มหาสมุทร)
- Networks (Physical เห้นด้วยตา ถนน ราง + Virtual อินเตอร์เน็ต,wifi, คำสั่ง)
   + Link (Highway,Pipeline,AirWay) / Node (จุด ,ทางแยก,Terminal , Airport) เชื่อม Node กับ Node ต้องเชื่อมด้วย Link บางครั้งใช้คำว่า (Vertex , Arc)

Network Component



เส้นวงแหวน วงแรกของประเทศไทย คือเส้น รัชดาภิเษก
วงสองคือ กาจญจนาภิเษก

###################################@2# 20160116#################################
ปกติ Activity ของคนไม่ได้จบที่เดียว จาก Nida แวะ เดอะมอลล์ แล้วค่อยกลับบ้าน จะเรียกว่า Trip Chain การขนส่งก็เหมือนกัน กรุงเทพฯ - เชียงใหม่ ก็มีแวะกลางทาง ส่งของอย่างอื่น ซึ่งจะต้องใช้ Node กับ Link ใน การอธิบาย

ในตัวอย่างด้านล่างมีจุด Centroid มี 3 จะมีคู่การเดินทาง = 6 คู่


ซึ่งมีสมการคำนวนคู่การเดินทาง = n(n-1)


Flow Entity


  - Various Format (แต่ละแบบมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป)
     + Passenger,Vehicle,Container,data, etc.
     + Design vehicle
     + Human behavior









System Modelling คืออะไร

เราจะทำงานอย่างไรให้ลดความซับซ้อนได้
ทำความเข้าใจและหาวิธีการที่จะ Improve ระบบ
เราต้องเข้าใจ ถ้าจะ Simulate ระบบ ทางด่วน เราต้องเข้าใจธรรมชาติของมัน

เมื่อเราสร้าง Model แล้วก็นำมาใช้
  ใช้ในการคาดการณ์อนาคต


Lecture 2 
Introduction to Freight Transportation


Distribution Channel ช่องทางการกระจายสินค้า
คือการนำสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคขันสุดท้าย ถ้าเรารู้ว่าผู้ผลิตมาการผลิต เราต้องส่งให้ User ให้ได้ แต่บางครั้งอาจจะ ผ่านหรือไม่ผ่านคนกลาง (Retialer,Wholesaler,Broker) ก็ได้

Player
 - Manufacturer : ตัวหลัก
 - Agent or Broker : คอยจับแพะชนแกะ
 - Wholesaler : พวกค้าส่ง เช่น Makro ซื้อเยอะๆ ขายทีละเยอะๆ
 - Retailer : ค้าปลี เช่น  7-11, โชห่วย
 - User



  ในสมัยก่อนจะต้องผ่าน Player หลายส่วน กว่าของจะผ่านถึงมือ User โดน + ราคาไปหลายครั้งแล้ว แต่ปัจจุบัน สามารถ ยิงตรงได้เลย อาจจะได้ของที่ราคาถูกกว่า แต่อาจจะมีปัญหาเรื่องการควบคุมคุณภาพ และการรับประกันสินค้า จะคืนอย่างไร
   บางครั้งก็ไม่แน่เสมอไปว่าของ ผ่าน Retailer จะแพงกว่าเสมอไป เช่นพวกสินค้า Electronic พอ Stock เยอะ เมื่อเทียบกับ Inventory แล้ว เค้าจึงเลือกขายของต่ำกว่าราคาทุนที่รับมาด้วยซ้ำ (แต่ทำแบบนี้จะเป็นที่ไม่พอใจของผู้ผลิตและ Agent ทำให้เสียโครงสร้างของราคาทั้งตลาด)
   หลายๆ ครั้ง Retailer มีความสำคัญ เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับผู้บริโภคมาก เช่น Pepsi กับ เสริมสุข ที่เสริมสุขเป็น Distributor ที่เก่งมาก

สินค้าบางอย่างต้องการ Distributor ที่เหมาะสม สินค้าบางอย่าง อาจข้ามบาง Player ไป การค้า Online พยายามลด Player !! ใช้ระบบข้อมูลที่ทันการณ์ (Real Time)

ปัจจัยสำคัญ
1. ธรรมชาติของสินค้า -> สินค้าบางอย่างมีความซับซ้อน ใช้เทคนิคสูง
                                    -> ลูกค้าสามารถ Customize ได้เองอยู่แล้ว
                                    -> เน้นความสะดวกสบาย ขายคู่กับการไป Shopping
                                    -> ต้องการภาพลักษณ์ (Luxury goods)
2. ลักษณะตลาด -> มีสินค้าขายในตลาดต่างประเทศ มีการแข่งขันในปัจจุบัน อนาคต
3. ประเภทธุรกิจ -> ขนาดธุรกิจ (S M L ) เป้นหมายการตลาด (เช่นขายในตลาดต่างประเทศ เช่น KitKat ชาเขียว เมื่อก่อนหาซื้อยาก) เครือขายการกระจายของคู่ค้า ความยาองช่องทางและจำนวน Player ในการกระจายสินค้า (ยิ่งยาวยิ่งยาก)
4. ประเด็นข้อกฏหมาย -> เช่น ข้อจำกัดในการขาย กฏการค้าและกีดกันสินค้า ภาษี

การรวมระวาง (Freight Consolidation)

  1. การส่งขนาดเล็ก (ส่งน้อยชินไม่คุ้ม รวมกันได้ขนาดใหญ่ เช่นการ ส่งพัสดุ)
  2. การขนส่งไม่เต็มคันในพื้นที่ต่างๆ (Less than truck load) แก้โดยการทำ Backhaul C Move หรือ การทำ Data Center
  3. ตารางการขนส่งอาจมีการปรับไปล่วงหน้าหรือย้อนหลังเพื่อรวมสินค้าให้ส่งเที่ยวใหญ่ๆ แทน

ผู้ที่เกี่ยวข้องในเรื่องของการขนส่ง

2. ผู้รับ ของ (Consignee) หรือลูกค้า
   - เป็นผู้ตัดสินใจเลือกใช้บริการขนส่ง เงื่อนไขการซื้อขาย และผู้รับผิดชอบในการขนส่ง
   - ผู้ประกบอการขนส่งจะเป็นผู้พิจารณาต้นทุนขนส่ง ตามเงื่อนไขและคำสั่งของลูกค้า
      + รูปแบบการขนส่ง
      + ความร ี บเร ่ งในการใช้สินค ้ า
      + ต ้ นทน ุ ส ิ นค ้ าคงคลง
      + ปัจจยัที่มีความไม่แน่ นอนสูง เช ่ น อตัราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมน
     + การซื้อขายในเงื่อนไข E-Term และ F-Term

Freight Forwarder เป็นคนที่ จัดการ ผู้ซื้อกับผู้ขาย รวมถึงเลือกการขนส่งให้
Shipper : เจ้าของสินค้า
Carrier: ผู้ขนส่ง

Incoterm : (International Commercial Terms)

 มีไว้เพื่อ Design ว่า Party แต่ละคนที่อยู่ใน Contract มีหน้าที่อะไรบ้าง และรวมถึงกฏระเบียบต่างๆ ของแต่ละประเทศ ทำให้การแปลความในแต่ละประเทศเป็นแบบเดียวกัน หมด เป็นส่วนช่วยในการลดเวลาค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นไม่ต้องเสียเวลาเถียงกัน

Term

E : หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ขายที่ต่ำสุด
F : ส่งด้วยข้อแนะนำของ Buyer
C : การขนส่งที่ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายที่ Seller จ่ายเอ
D : การมาถึงของสินค้า ณ ที่ตกลงกันใน Contract

IncoTerm

Exw - Ex works (E Term)

  ส่งมาถึง ณ ชายคาของผู้ขาย ค่าใช้จ่ายทั้งหมด เป็นของผู้ซื้อ เป็น Term ที่ Seller มี Risk น้อยที่สุด



FCA - Free Carrier

   ผู้ขายรับผิดชอบ โดยถึงจุดที่ขนของขึ้นรถ ไปยัง Terminal (ขนส่งไปที่ท่า)



FAS - Free Alogside Ship

  ผู้ขายรับผิดชอบ จนถึง ส่นที่เป็นท่าเรือ ยังไม่ขึ้นเรือ




FOB - Freight on borad

 ผู้ขายรับผิดชอบ จนถึง ขนขึ้นเรือ



CFR - Cost and Freight

  ผุ้ขาย จ่ายจนถึง Port ที่ ปลายทาง Risk : จบ แค่ขนส่ง ที่เรือต้นทาง แต่จ่าย Cost ถึงปลายทาง









CIF - Cost insuracne and freight

  ผู้ขาย จ่ายถึง Port ปลายทาง โดยจ่าย Cargo insurance และ Cost จนถึง Port ปลายทาง ด้วย



DAF - Delivered at frontier

  ผู้ขาย จ่ายถึง Frontier (ท่า ขนส่งแบบ Cross Boarder)




DES - Delivery Ex Ship

  ผู้ขาย ส่งไปจนถึง ปลายทาง แต่ยังอยู่บน On board



DEQ - Delivery Ex Quay




สรุป Inco Term






3. ผู้รับขนหรือผู้ประกอบการขนส่ง (Carrier)

 -  เป็นผู้ให้บริการขนส่ง เป็นผู้ประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุก รถไฟ เครื่องบิน เรือ ท่อ
 - ผู้รับขนมีหน้าที่จัดการขนส่งตามความต้องการของลูกค้า 
 - มียานพานะส าหรับจัดส่งสินค้า 
 - มีสถานีต้นทางปลายทาง และสถานีกระจายสินค้าที่ปลายทาง 
 - ผู้รับขนอาจให้บริการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal or Intermodal transportation)
 - ผู้รับขน อาจเป็น ผู้ให้บริการกับบุคคลทั่วไป (Public Carrier) หรือ เฉพาะราย (Contact Carrier)

กลยุทธฺการกระจายสินค้า 



บางครั้งยิงตรงไม่คุ้ม อาจจะต้องมี DC หรือ Warehouse รวมของได้เยอะๆ แล้วค่อยกระจาย


การกระจายสินค้า ใช้3 กลยุทธ์  (น่าจะสำคัญ นะครับ)

1. กลยุทธ์การส่งโดยตรง
 - สินค้าจะถูกส่งจากผู้ผลิตไปยังผุ้บริโภคขั้นสุดท้ายโดยตรง
 - ขจัดค่าใช้จ่ายการดำเนินงานที่ศูนย์กระจายสินค้า
 - ลดเวลารอคอยสินค้า
 - มีลูกค้ามาก กระจัดกระจาย ในพื้นที่อาจจะต้องมีรถบรรทุก จำนวนมาก
 - ต้องการส่งตรงเวลา (อาจเป็นสินค้าเน่าเสียง่าย)
 - ต้องบริหาร Full Truck Load, Vehicle Routing
2. กลยุทธ์คลังสินค้า
 - สินค้าจะถูกส่งจากผู้ผลิตไปเก็บไว้ในคลังสินค้า
 - ต้องมีชั้นวางพาเล็ท
 - เมื่อรับค าสั่งก็จะน าสินค้าออกมาบรรจุหีบห่อและส่ง ให้ลูกค้า หน้าที่หลักคือ 1 รับสินค้าเข้า 2 เก็บสินค้า 3 หยิบสินค้าตาม ค าสั่ง 4 จัดส่ง
 - มีต้นทุนจากการเก็บรักษาสินค้าคงคลังและต้นทุนค่าแรง
3. Cross Dock (จดไม่ทัน)

Transportation Mode

- Motor
 + Accessibility. เข้าถึงได้ง่าย
 + Frequency and availability.
 + Speed. สปีด ค่อนข้างดี
 + Convenience: lower volume.
 + Smoothness of transport ไม่ต้องไปต่อ


- Rail (รถไฟต้นทุน ต่ำกว่า รถบรรทุก)
พยายามขนส่ง Long haul ให้มากแต่มีข้อจำกัดเยอะ
 + Strengths 
     Carrying Capacity.
     Equipment Flexibility.
     Liability.
 + Constraints
     Fixed right-of-ways.
     Specific geographic network: multiple handling.
     Service Reliability.

Railroad Connectivity In Thailand





สอบ!!! ทางรถไฟ ความเร็วสูง ระยะ ที่ 2  ไปหามาเพิ่มด้วย

- Air
 + High variable and low fixed costs
 + Major advantages:
       Speed: reduced inventory levels and carrying costs.
       Less packaging required than that for other modes.
       Normally used for small shipments <500lbs.
  + Disadvantages:
       Poor accessibility.
       High cost of freight service.

- Water

  + Low-cost service.
  + Have long transit times.
  + Poor accessibility.
  + Not labor intensive.
  + High variable and low fixed cost.
  + Labor costs are 20% of total costs.

- pipeline.

  + Limited number of Companies.
          High start-up costs.
          Duplication or parallel competing lines are wasteful.
  + Labor costs are very low due to high level of automation.
  + Advantages: low rates, dependability, continuous flow of product (e.g., oil, natural gas, etc.). 
  + Disadvantages: low accessibility, slow service, limited to a few products.

INTER MODAL Vs MULTI MODAL ไปอ่านด้วย ว่าแตกต่างกันอย่างไร


###################################@3# 20160131#################################

เราต้องมีการผสมผสานระหว่าง การรวมระวาง หรือ Direct Transport บางครั้งทำไม่ได้ เพราะลูกค้าต้องการด่วน ซึ่งลูกค้าสามารถ Absorb ได้เอง



เราจะทำอย่างไรที่จะทำให้การส่งของเป็น Full Container Load ให้ได้มากที่สุด

ขั้นตอนประกอบด้วย
1. *การจัดเตรียมตามคำสั่งซื้อ (Prepare Order)
    การผลิต หรือ สั่งผลิต บรรจุสินค้า
    (ประเทศไทยส่งออกมะม่วงเยอะมาก ไป ญี่ปุ่น เยอรมัน เยอะ มะม่วงดีๆ สวยๆ เกรด A เราไม่มีทางเจอในไทย เพราะส่งออกหมด)
     (การปนเปื้อน ของสารเคมี หรือ  แมลงต่างๆ ประเทศที่มีความ Strict มาก ถ้าเจอเชื้อ

2. การจัดเตรียมสำหรับการส่งออก (Prepare for Exports)
    ข้อตกลงทางการค้า การประกัน เงื่อนไขการชำระเงิน เอกสารการส่งออก
 
3. การตัดสินใจเกี่ยวกับการขนส่ง (Transportation Decision)
    การเลือกวิธีการขนส่งเลือกผู้ประกอบการ เลือกเส้นทางการขนส่ง

กิจกรรมเตรียมเพื่อการส่งออก ขั้นตอนประกอบด้วย
1 Clearing สินค้าส่งออก
2 จัดการขนส่งจากต้นทางไปยงปลายทาง
3 Clearing สินค้าที่ศุลกากรในประเ?สที่นำเข้า
4 การจัดการเกี่ยวกับการชำระเงินสำหรับการขนส่ง การประกัน และการทำหน้าที่ดำเนินการต่างๆ (เช่น Incoterm)

เงื่นอไขการชำระเงิน

1. A Letter of credit (LC) เป็นเอกสารให้ความมั่นใจว่าผู้ส่งออกจะได้รับเงินจากผู้นำเข้าซึ่งได้รับสินค้าตามที่ต้องการ ผู้ซื้อติดต่อธนาคาร เพื่อให้ออก LC (ปกติผู้ซื้อต้องมี เครดิต หรือมีเงินประกันอยู่กับธนาคารนั้น) เป็นการประกันว่าธนาคารจะจ่ายเงินให้กับผู้ขาย
2. A Sight Draft ใช้เป็นตั๋วเงินที่ผู้ซื้อสินค้าส่งให้ผู้ขายเพื่อเบิกเงินปลายทางได้ทันที ก่นอจะปล่อยของออกให้กับผู้นำเข้า ถ้าจ่ายเงินภายหลังโดยมีกำหนด 90 วัน เรียกว่า 90 Days' sight draft
(ออกกระดาษให้ไปขึ้นเงิน ซึ่งถ้าไม่รู้จักกันก็จะมีจำนวนวันน้อยๆ
3. A Time draft ใช้เมื่อผู้ส่งออกขยายเครดิตให้ผู้ซื้อ


บทที่ 2 Introduction to Truck Load Carrier

โครงสร้างบริษัทขนส่ง
1. กลุ่มปฏิบัติการ (Operation )
    * แผนกบริการลูกค้า (Customer Service)
           ให้บริการลูกค้ารายวัน สื่อสารภายในภายนอก สร้างสมดุลระหว่าง Demand และพนักงานขับ
    * แผนกนำส่ง (Dispatch)
            ติดต่อบุคคลตัวแทน พนักงานขับรถ เพื่อสื่อสารระหว่างบริษัท และพนักงงานขับ ประกันจำนวนกิโลเมตรที่ต้องขับ (ผลต่อรายได้) บันทึกการบำรุงรักษา เน้นความปลอดภัย ตรงเวลา เพิ่มประสิทธิภาพพนักงาน
     * แผนกวางแผน (Planning)
            จัดสรรรถบรรทุก ที่มีอยู่ให้กับภาระลูกค้า โดย ส่งมอบให้ันเวลา และ มีเที่ยวเปล่าระหว่างการขนส่งน้อยทีุ่สุด (ใช้ Consolidate / C-Move / ประสานงานข้อมูล) ทำให้ตอบสนองความต้องการของพนักงานขับรถได้
2. กลุ่มสนับสนุนทั่วไป (General Support)
      * แผนกซ่อมบำรุง (Maintenance)
             (Preventive + Maintenance) มีการบันทึกการซ่อมบำรุงที่ชัดเจน
       * แผนกสรรหาพนักงานขับรถ (Driver Recruiting)
       * แผนกรักษาความปลอดภัย (Safety)
       * แผนกขายและการตลาด (Sale and Marketing)
             ติดต่อด้านกลยุทธ์ระหว่างผู้จัดส่งกับผู้ประกอบการขนส่ง เจรจาต่อรองการตลาด จัดหาทีมงานจัดการขนส่ง ประสานงานระหว่างทีมผู้ให้บริการกับผู้ดำเนินงาน บริษัทเล็กอาจเป็นเถ้าแก่ทำเอง
       * แปนกกำหนดราคาและิดต่อ
       * แผนกจัดการรายได้และการเรียกเก็บเงิน

การจัดการการขนส่ง มองเป็นระบบ (System)


[ Pre - processing ] -> [ Processing ] -> [ Post processing]

Pre ต้องมีการเตรียมก่อนล่วงหน้า Resource ต่างๆ
เมื่อถึง กระบวนการที่่ส่ง
Post หลังจาก ส่งของเสร็จ เรื่องการเก็บเงินต่างๆ

แผนกแต่ละแผนกต่างๆ มีหน้าที่ ต่างๆ อยู่ใน Process ต่างๆ


ตัวชี้วัดประสิทธิภาพและการวัดผู้ประกอบการขนส่ง

1. กิโลเมตรที่บรรทุก (Load Miles) (Maximize ให้มากที่สุด)
    เป็นจำวน กม ที่มีการขับรถบรรทุก ส่งสินค้าให้ลูกค้า (อาจไม่เท่ากับ กม ที่คิดเงิน) มีเหตุต้องเดินทางอ้อม แวะตามจุดต่างๆ
2. กิโลเมตรเี่ยวเปล่า (Empty Miles) (Minimize ให้มากที่สุด)
    เที่ยวเปล่าที่วิ่งไม่มีการบรรทุกสินค้า
3. กิโลเมตรรวม (Total Miles)

4. กิโลเมตรที่วิ่งออกนอกเส้นทาง (Out of Route (OOR) miles) (Minimize)
    วิ่งเข้าอู่ แวะบ้าน เติมน้ำมัน


ชนิดของรายได้และการวัด (Revenue Type and Management)
คิดรายได้สุดทธิ (Gross Revenue) และรายได้ต่อกิโลเมตร เป็นตัวชีวิัดการดำเนินงาน Line haul Revenue = Billed Mile x Billed Rate Per mile
Net Rev. Per Mile = Line haul rev./Total Miles



การวัดการดำเนินงานและสถิติที่สำคัญ






Utilization : กรณี low cost Airline ต้องทำให้อยู่ในอากาศนานๆ เนื่องจากได้รายได้ ถ้าจอดนิ่งๆ ก็จะต้องจ่าย Fix cost โดยที่ไม่เกิด รายได้



การบันทึกสถิติต่างๆ จะช่วยให้เราวางแผนต่างๆได้ดีขึ้น เช่นการ Maintenance

อ.ค่อนข้างเน้นเรื่อง Utilization มาก ระวังสอบ ด้วย !! 

Utilization : การที่วิ่งออกไปโดย ไม่ดูว่ามี Load หรือไม่มี ถ้าสนใจ Load จะเรียก Load Utilization

Average Length of Haul = Fleet Total / Load Count

 Empty Miles Percentage = Empty Miles / Total Miles

ประเภทปฏิบัติการ

1. บางครั้งต้องใช้ความเชี่ยวชาญเฉพาะของผู้ประกอบการขนส่ง (บางคนถนัดไม่เหมือนกัน) ซึ่งผู้ประกอบการ รู้วิธีลดความเสี่ยง
2. การปฏิบัติการแบบ Line haul เป็นการขนส่งระยะทางไกล ลำเลียงยาว มักจะเป็นการสนส่งเต็มคัน (Full truckload) มีเป้าหมาย คือ ทำให้เกิด Utilization ( ประสิทธิภาพ) สูงสุด และทำให้ จำนวน กม.เที่ยวเปล่า ต่ำสุด
3. การปฏิบัติการในภูมิภาค (Regional Operation) : การกระจาย แบบ Short haul หรือ Local operation ใช้ Line haul ยิ่งสินค้าทางไกล แล้วใช้ short haul ในระยะทางที่ใกล้ เช่น วิ่งแต่ในกรุงเทพฯ แต่มีข้อจำกัดหลายๆ เรื่อง เช่น ชิ้นส่วนรถยนต์มีข้อจำกัด คือ Capacity ของรถ รับได้น้อย อาจต้องวิ่งหลายเที่ยว , Time window เวลาที่จะไปรับไปส่ง ต้องวิ่งเข้าไปในเวลานั้นเท่านั้น
4. กองยานพาหนะ เฉพาะ (Dedicated Fleets) เป็นการขนส่งรูปแบบเฉพาะ เพื่อบริการสำหรับลูกค้ารายหนึ่ง เพราะรูปร่างของสินค้า อาจมีขนาด เฉพาะ ความดคาดหวังบริการที่ท้าทาย มีกิจกรรมที่ยุ่งยาก วุ่นวาย ต้องการการขนส่งในระยะที่ไม่ไกลมาก

การหมุนเวียนของพนักงาน (Driver Turnover)

    เคยมีคำถามว่า เทรนนิ่งให้พนักงานแล้ว เค้าลาออก เราจะทำยังไง ก็ต้องถามกลับว่า ถ้าเราไม่ เทรนแล้วเค้าอยู่ทำยังไง ทุกอย่างต้องมี Cost
    ต้นทุนมี 2 ส่วน 1 คัดเลือก ฝึกอบรม Recruiting , 2 ต้นทุนเกี่ยวกับการฟื้นตัว (Recovery) ของผู้ประกอบการรถลากหลังจาที่พนักงานลาออก

ผู้ปฏิบัติการที่เป็นเจ้าของ

เป็นผู้รับเหมาอิสระ มีรถบรรทุกเป็นของตนเอง และว่าจ้างรถลาก
ส่วนใหญ่ ขยาย Capacity โดยไม่ต้องลงทุนซื้อรถลากเอง หรือไม่ต้องจ้างพนักงานขับเพิ่ม
รับงานตามกำลังองบริษัทและความสามารถในการบรรุทุกที่มีอยู่
คามน่าเชื่อถือของผู้ประกอบการ (Reliability) สำคัญมาก
การทำเองให้ความยืดหยุ่นสูง แต่บางครั้งก็ไม่คุ้ม อาจโดน Cancel งาย
ได้รับการจ่ายตาม กม เดินทาง

ข้อสอบ น่าจะออก ตัวชีวัดประสิทธิภาพ ด้วย !!!

การวิเคราะห์ต้นทุน Cost Analysis

เคยสอนใน 5002 แล้ว อ.พูดอีก ซึ่ง ผม Copy มาจาก LM5002 มาแปะ ในส่วนด้านล่าง อ.พูดค่อนข้างเร็ว ไม่ต้องเน้น อ่านมาก 

หากเราลดต้นทุนได้ จะทำให้กำไรเพิ่มขึ้น


ปัจจัยส่าคัญ 10 ประการ (Donald J. Bowersox and David J. Closs)

1. ระยะทางการขนส่ง

Short hal ต้นทุน จะสูงว่าเช่นการวิ่งในเมือง
การขนส่งไกลๆ ต้นทุนต่อหน่วยจะน้อยกว่า

2. ปริมาณสินค้า


3. ความหนาแน่นของสินค้า
กล่อง Size เดียวกันจะ Pack ง่าย
สามารถทำเป็น IS ได้เลย

4. รูปทรงของสินค้า
สินค้าที่มีรูปทรงไม่มาตรฐานทำให้การจัดเรียงสินค้าอาจจะไม่เต็มความจุรถบรรทุก

5. การจัดการสินค้า (Handling)
มีผลเรื่องของเวลาในการยกขึ้นยกลง ต้องจัดการคนยกขึ้นยกลงให้พร้อม

6. ความรับผิดชอบ (liablity)
-การรับประกันความเสียหาย
-การรับประกันการสูญหาย
-การรับประกันความล่าช้า

7. ลักษณะของธุรกิจขนส่ง
- ผู้ให้บริการจ่านวนมาก (Fragmented Industry)
- 680,000 คัน 320,000 ราย
- ส่วนมากเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก (SMEs)
- บริการไม่แตกต่างกัน
- การแข่งขันด้านราคาสูงมาก

8. ราคาน้่ามันเชื้อเพลิง
- พ.ศ. 2540 10 บาท/ลิตร
- พ.ศ. 2548 20 บาท/ลิตร (+100%)
- พ.ศ. 2551 40 บาท/ลิตร (+400%)
- พ.ศ. 2554 <30 บาท/ลิตร
- ต้นทุนน้่ามันเชื้อเพลิง 30 – 50% ของต้นทุนรวม

8. ราคาน้่ามันเชื้อเพลิง
* พลังงานทางเลือก
- ก๊าซธรรมชาติอัด Compressed Natural Gas (CNG)
- ก๊าซธรรมชาติส่าหรับรถ Natural Gas for Vehicles (NGV)
- ค่าใช้จ่ายติดตั้งสูง
- ค่าใช้จ่ายแปรผันต่่ากว่าน้่ามัน
- วิเคราะห์จุดคุ้มทุน

- ปัญหาพลังงานทางเลือก NGV
- สถานีบริการย่อย (Daughter Station)
- ไม่ครอบคลุม (ส่วนมากอยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล)
- มีน้อย (คิวยาว จอดรอนาน)
- สถานีบริการแม่ (Mother Station)
- ไม่ครอบคลุม (มีเฉพาะตามแนวท่อก๊าซ)
- มีน้อย (จ่ายไม่ทัน)

9. บุคลากร
-ธุรกิจใช้แรงงานมาก (Labor Intensive)
-แรงงานไม่มีฝีมือ
-พนักงานขับรถเปลี่ยนอาชีพ
-กฎหมายเข้มงวดมากขึ้น

10. กฎระเบียบข้อบังคับของทางราชการ
- พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก
- น้่าหนักบรรทุกตามกฎหมาย
- มาตรการห้ามรถบรรทุก
- มีผลกระทบต่อการบริหารฝูงรถและต้นทุนค่าขนส่ง

โครงสร้างต้นทุนการขนส่ง

ต้นทุนคงที่

หลีกเลี่ยงไม่ได้ไม่ว่าจะใช้ไม่ได้ วิ่งไม่วิ่ง (Vehicle Capital Costs)
- ตุ้นทุนราคารถบรรทุก (Vehicle Registration Fees)
- ค่าป้ายทะเบียนและภาษีผู้ใช้รถ (Vehicle Registration Fees)
- ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ลองไปดูวิธีคิดค่าเสื่อมด้วย (LM6003) ระวังสอบ
- ค่าประกันภัยประจำปี (Annual Insurance Costs)
- ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ (Overhead Costs)

ต้นทุนผันแปร (Variable or Operation Cost) => ค่าช้จ่ายที่มาจากการใช้งาน
- ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (Fuel Costs)
- ค่าบำรุงรักษา (Maintenance Cost)

( ตอนนี้เกิดการตัดราคาในวงการขนส่งอย่างมากทำให้โครงสร้างราคาเปลี่ยนไปเยอะ เนื่องจากเศรษฐกิจ แย่)



บางที่ใช้ก๊าซหมด เพราะ เรื่อง Emission สามารถ Claim บางอย่างเกี่ยวกับ ISO ได้

ค่าบำรุงรักษา Vs ค่าเสื่อม

จะเห็นว่าปีแรกๆ ค่าเสื่อม จะลดลง ไม่มาก ไม่ใช่เส้นตรง

Cost Structure


ตุ้นทุนกาขนส่ง
- ต้นทุนด้านเวลา (Time Cost)  (เวลาขนลงขนขึ้น ต้อง คิดตัง ไม่ใช่ว่า ยกขึ้นยกลง ฟรี ไม่คิด หรือรอ นาน ก็ต้องมี Buffer เตรียมไว้)
    - เวลาเราขนสินค้าขึ้นพาหนะ (Loading Time) หลายที่ชอบลืมคิด
    - ต้นทุนเวลาขนสินค้าออกจากพาหนะ (Unloading TIme)
    - ความล่าช้า (Delay)

- ต้นทุนระยะทาง (Distance Cost)
    - ค่าเชื่อเพลิง
    - ค่าบำรุงรักษา
    - ต่าเบี้ยเลี้ยง
    - ค่าปรับ และความผิด (Fines) ต้องเตรียมไว้ด้วย

- ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์อื่นๆ
     - ภาวะขนาดการผลิตที่ประหยัด (Economies of Scale)  (ส่งเยอะๆ ทำเยอะๆ ทำได้ถูกกว่า)
     - ขอบเขตการผลิตที่ประหยัด (Economies of Scope) (ดูความสามารถหลักของเรา ถ้าทำได้ทำ ถ้าทำไม่ได้ให้คนอื่นทำจะดีกว่า)
     - ภาวะประหยัดจากประสบการณ์ (Experience Economies)
     - การประหยัดจากการ (Consolidate)


###################################@4# 20160206#################################

องค์ประกอบต้นทุนผู้ประกอบการขนส่ง
1. ต้นทุนผันแปร Variable Cost
- ค่าตอบแทนพนง ขับ
    +ประสบการณ์ทำงาน
     + จนปีที่ำทงาน
     + ความปลอกภัยและบันทึกการให้บริการในอดีต
     + ค่าคาดหมายหรือค่าเฉลี่ยต่สัปดาห์ที่พนงขัยรถให้ (Utilization)
           
- ผลประโยชน์พันักงาน
- เชื้อเพลิง
- ค่าซ่อมบำรุง
   + ค่าซ่อมบำรุงอุปกรณ์ เช่นการเปลี่ยน้ำมัน การเปลี่ยนยางใหม่การ Tune-up งานเบรค การเปลี่ยนชิ้น่่วน ซ่อม เนื่องจากการสึกหรอ แปรผันตาม กม ที่วิ่ง
- ค่าเบี้ยประกัน
   + สีมีผลต่อประกันด้วย เช่น สีแดงแพงสุด เพราะมักใช้เป็นสีของรถสปอท ซึ่งมี Behavior Aggressive




2. ต้นทุนคงที่ Fixed Cost
- ค่าอุปกรณ์รถลาก  (Truck Equipment)
- ค่าอุปกรณ์รถพ่วง (Trailer Equipment)
- อุปกรณ์ถูกต้องตามกฏหมาย (Equipment legalization)
- ค่าโสหุ้ย ในการรบัพนักงานใหม่ (Driver recruiting overhead) ตั้งแต่เริ่ม Recruit ก็มี Cost แล้ว
- พนักงานสนับสนุน (Direct support staffing)
- ค่าใช้จ่ายขององคก ์ ร(Cooperate Overhead)

จำเอาไว้ว่า มีรายการที่เรามองไม่เห็นเยอะมาก ดังนั้นคนที่คิดได้ละเอียดให้มากที่สุด ยิ่งดี


บทที่ 3 

เป้าหมายของผู้ประกอบการขนส่ง 4 ประการ
จุดประสงค์หลัก คือ Minimize Cost and/ or Maximize Profit
มีเป้าหมายหลัก 4 ประการคือ
1. สร้างรายได้สุทธิต่อกิโลสูงสุด (Max net revenue per km)
2. จำนวน กม เที่ยเปล่ามีค่าต่ำทีุ่ด (Min Empty Km)
3. ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพย์สินหรือการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินมีค่ามกที่สุด (Max Utilization)
4. ความยาวของเที่ยวการบรรทุกมีค่าเมาะสมที่สุด (Optimize LOH)

รายงาน Movement Report







ออกสอบวิธีคำนวนภาพด้านบน !!!! กลับไปลองคิดด้วย

ในความเป็นจริงทำได้ระดับนี้ก็โอเครแล้ว แต่ว่า ผู้บริหารอาจจะต้องการ Improve ว่าทำยังไงให้ลด ต้นทุนตรงนี้ได้อีก ซึ่งสิ่งที่ทำให้ลดต้นทุนได้ ก็มีหลายตัว
เราจึงมีวิธีการวิเคราะห์ตัวนึง ที่ช่วยวิเคราะห์ ซึ่งเรียกว่า Sensitivity Analysis เช่นเราเพิ่ม Utilization สูงขึ้น หรือลด ลง จะเห็นว่าต้นทุนจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร



ในการทำ SA ต้องเปลี่ยนตัวแปลเพียงตัวเดียว โดยที่คงค่าคงที่ตัวอื่นไว้ เปลี่ยนทุกอย่างพร้อมกันไม่ได้เพราะ เราจะไม่รู้ว่าความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะเป็นเพราะอะไร



จะเห็นได้ว่ามีการ Vary Loadmile +- 200 จะทำให้ Profit Margin เปลี่ยนไป ประมาณ 1.3 % ซึ่งเป็น Linear สามารถ Plot Graph ได้ดังนี้


แต่ทั้งนี้เราจะมองแต่เพิ่ม Utilization ยังไงก็ต้องมองข้อจำกัด ด้านอื่นๆ เช่น พนง ขับรถ ชั่วโมงขับ จำนวนรถที่มี ซึ่งเราจะต้องมองข้อจำกัดที่มีตัวที่น้อยที่สุดเป็นคอขวดสำคัญที่สุดของระบบ จะทำให้เกินจาก ข้อจำกัดนั้นไม่ได้



สังเกตตารางด้านบน เมื่อ Utilization สูงขึ้นจะทำให้ Total Cost Per Mile ลดลง
นอกเหนือจากการทำ Utilization SA
เรายังสามารถทำรายได้ต่อ Mile โดยการเปลี่ยน +-0.10 (ไม่เน้น)
โดยแนวคิดคือ แทนที่จะลดต้นทุน เราเพิ่มราคาขายขึ้นอีกหน่อยนึง ไหม

สามารถ พล๊อตกราฟ การเปลี่ยนแปลง ได้ดังนี้

ลองปรับ Empty Mile บ้าง (ไม่เน้น)




จุดคุ้มทุน

เราจะต้องคิดว่าเราจะต้องวิ่งมากแค่ไหนจึงจะคุ้มทุน
หลักการคือ
ต้นทุนคงที่  / Net Rev per mile - variable cost per mile




หาจุดคุ้มทุนได้ 1.7 Mega Mile ซึ่งเราจะต้องวิ่งให้ได้เท่านี้ ต่อ 1 สัปดาห์ ถ้า เราวิ่งต่ำกว่านี้จะไม่คุ้ม

ต่อไปจะลงลึกเรื่อง Break Event Point

 Break Event Point เป็นเทคนิคที่จะช่วยหาจุดที่ คุ้มทุนจากจุดตัดระหว่างต้นทุนต่างๆ และรายได้ที่จะได้มาแต่ละแก้ว
สิ่งที่ใช้ได้แก่
- Fix Cost
   + Depreciation, Taxes , debt, Mortgage Payment (จำนอง)
- Variable Cost
   + Labor, Material, Portion of utilities
   + Contribution



วิธีการที่จะทำให้ BEP ลดลง ได้แก่
- ทำให้ Total Cost ลดลง โดยลดต้นทุน ทำให้จุดตัดเลื่อนไปทางซ้าย
- ทำให้ Total Revenue เพิ่มโดยเพิ่มราคาขาย ทำให้เส้นสีแดง (3) ชันขึ้น

BEP Assumption

บน Real world function ของ total cost / revenue ไม่ใช่ linear แต่เพื่อความง่ายเราจะมีการตั้งสมมติฐานให้เป็น linear ก่อน

สูตร BEP


ซึ่งตรงกับสูตรด้านบน



ตัวอย่าง BEP


ตัวอย่าง BEP 2



คาดว่าคงออกสอบคำนวน Break Event Point เรื่อง Plot Graph ไม่แน่ใจว่าออกไหม แต่ควรจะดูวิธีการ Plot Graph เอาไว้ด้วย


ผู้ขับเคลื่อนหลักของต้นทุนสำหับผู้ประกอบการขนส่ง


ตัวขับเคลื่อนต้นทุน สามารถวิเคราะห์จากเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดต้นทุนหรือใช้เวลาของ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต

Total Cost Driver: Booking Load
• การพิจารณาต้นทุนรวม (ด าเนินงาน และต้นทุนการบิริหารทางตรง)
• ใช้การน าเข้าข้อมูลการบรรทุกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ค่าสื่อสาร ค่าจัดการ
• ด้านปฏิบัติการ กม ที่ขนส่ง พนักงานขับรถใช้ไป เวลาในการขับ
• รถลากและรถพ่วง
• เวลาในการถ่ายสินค้า (Dock time)
Total Cost Driver: Driving Miles
 • เป็นต้นทุนที่แปรผันตาม กม (Mileage-based expense)
• ค่าใช้จ่ายพนักงานขับและค่าเบี้ยประกัน
• คิดตาม กม ที่มีการขับรถ (ค่าใช้จ่ายตาม กม )

Total Cost Driver: Owning/Leasing Tractor and Trailers
- พิจารณาจ านวนรถลากและรถพ่วงที่ต้องมีเพ่อการบรรทุกภาระ
- การขยายกองยานพาหนะ (Fleet) ก่อให้เกิดต้นทุนเพิ่ม
- ต้นทุนของรถและอุปกรณ์ออกมาในรูปของค่าเสื่อมราคา หรือ ค่าเช่า
- ต้นทุนการจดทะเบียน และต้อมีการเคลื่อนย้ายต าแหน่งของอุปกรณ์จากจุดเริ่มต้น
- ต้นทุนการต่อเติมเพื่อให้อุปกรร์ใช้งานได้ตามต้องการ
- ผู้ประกอบการควรเลือกขนาดที่เหมาะสมเพื่อจ ากัดต้นทุน



ด้าน บน อ.พูดค่อนข้างไว นะ ไม่น่าเน้น 

ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Base Cost)

ต้นทุนทางตรง วัตถุดิบทางตรง ยิงเข้า Cost โดยตรง ส่วนที่ต้องแตก คือค่าโสหุ้ยต่างๆ โดยแยกดูกิจกรรมโดยต้องหาตัวพลักดันต้นทุน เป็นรายกิจกรรม เช่น คิดต่อชิ้น ต่อชั่วโมง ต่อ facilities ต้องมีการคำนวน ว่ากิจกรรมบางอย่างเป็นแบบ Unit หรือ Batch หรือ Organization




ด้านบน เหมือนเดิม

แต่ภาพด้านล่าง คือส่วนของการคิด ABC 
ต้องดูให้ดีด้วย ลองกลับไปคำนวน

การประยุกต์ใช้ (ไม่เน้น อ.บอกกลับไปดูด้วยนะ แต่คิดว่าคงไม่ออกสอบนะ 55+)






ต่อจากนี้เป็น slide เก่า จาก ABC ของ 5002 อ.บอกให้กลับไปดูด้วย

โดยรูปด้านล่าง อ.ค่อนข้างเน้น ต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ABC คิดตรง โสหุ้ยเป็นหลัก



###################################@5# 20160213#################################

ทวนๆ
Utilization : ดูที่ Total Mile
Utilization มีส่วนในการลดต้นทุน โดยการลด Fix Cost per Mile
Break Event Point : จุดคุ้มทุน จะต้องวิ่งเท่าไหร่ถึงจะคุ้ม ประกอบด้วย Total Cost Vs Revenue Line
ทำได้ โดย 1. ลด Fix Cost 2. ขายแพงขึ้น


บทที่ 4
การกำหนดราคาแบบเที่ยวเดียว

เราต้องเข้าใจพฤติกรรมของต้นทุน ประเด็นหลัก คือเอาถูก เนื่องจากปัจจุบันแข่งขันกันสูง การเพิ่ม Revenue /Mile ค่อนข้างยาก ดังนั้นเราอาจจะต้องไปเพิ่มแบบอื่น นอกเหนือจาก Load Revenue เช่น
Accesserial (Loading - Unloading โดยใช้ ABC Cost per load per hour) เพื่อที่จะ เก็บเงินกับลูกค้าเพื่อเพิ่มรายได้ทางอื่น



Length of haul : Load mile / Load Count ( จุดที่ Drop ของ)


การกำหนดราคา แบ่งไปด้วย

1. รอบเวลา
    การรอคอยเพื่อจัดส่ง
   เวลาที่วิ่งรถเปล่าๆ เพื่อไปรับินค้า (Empty Miles to pick-up)
   เวลาถ่ายหรือขนสินคาขึ้นรถ
   เวลาขับรถ (
   เวลาถ่ายหรือสินค้าลงจากรถ (Dock Time-Delivery)

การรอคอยเพื่อการจัดสรร
   เป็นเวลารอคอยเพื่อจัดสรรหรือเวลารอส่ง เป็นเวลาที่รถบรรทุกและพนักงานใช้หลังจากดำเนินการบรรทุกสินค้าครั้งหนึ่งๆ เสร็จ ซึ่งรอเยอะก็ไม่ดี มันจะเกิด Idle Time ไม่เกิดประโยชน์ระหว่างนั้น

เวลาที่วิ่งรถเปล่าเพื่อไปรับสินค้า (Empty Mile to Pickup)

บลาๆ อ.อธิบาย คำอธิบายไปค่อนข้างไว

4.1 รอบเวลา Cycle Time 


Total 23 hr ในขณที่ On-Duty = 13 Hr เป็นตัวอย่างของรอบเวลา



ในต่างประเทศจะมีการควบคุมเวลาที่ขับได้ เคร่งครัดมาก ตำรวจจะตรวจเวลาเริ่มขับ ต้องไม่เกินที่กำหนด


1. Buffer Time

เวลาส่วนเกิน (Extra Time) ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์เช่นการไปรอก่อนล่วงหน้า
Buffer time and loss utilization มีผลกระทบทางด้านการเงิน ทั้งในแง่ของ ผู้ประกอบการและพนักงานขับรถ เมื่อมี buffer time เกิดขึ้นผู้ประกอบการจะ เสียโอกาสในการสร้างรายได้ และ พนักงนขับรถ ก็สูญเสียโอกาสรายได้ หมายถึง การสูญเสียการใช้ประโยชน์ (Utilization)




อ.ให้ลองไป บวก ดูเอง สอนไปค่อนข้างเร็ว ไม่เน้นมาก เรื่องตาราง




ถ้า Buffer Time สูง Utilization ต่ำ ||| Buffer TIme ต่ำ Utilization จะสูง

2. การรอคอยเพื่อจัดสรร (Waiting for Dispatch , Dwell TIme)
ใกล้ไกล ต้องมีการแบ่งกัน
มาถึงแล้วจะให้ขับไปส่งงานอื่นต่อเนื่องก็ไม่ดี



3. Length of haul (LOH)

ต้องทำการจัดการให้ Optimize ที่สุด เราต้องรู้ธุรกิจของเรา ว่าเป็นแบบใด
Short haul vs Long haul วิธีคิดต้นทุนจะไม่เหมือนกัน มองปัจจัย 10 ประการ ที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุน ก่อนหน้านี้



ความยาวลำเลียงมาก ขึ้น ต้นทุนในการลำเลียงต่ำลง เนื่องจากเราใช้ประโยชน์จากมันมาก และเกิด Economy of scale ดังตัวอย่าง (สิ่งที่ลดลงได้คือ Fix Cost ทำให้ Total Cost ต่ำลง)



ดังตารางแจกแจง (อ.ให้กลับไปดูเอง ไม่เน้นมาก)





จากกราฟ ความยาวการลำเลียง เริ่มสูงขึ้น ต้นทุน / ไมล์ จะเริ่มลดลง

 4 กม. เที่ยวเปล่าและรายได้สุทธิต่อ กม. (Empty miles and net revenue per mile)



ถ้า Empty Mile สูงขึ้น Net Revenue per mile จะลดลง กลับไปดูสูตรเอง สอนไปแล้ว

5. การจัดสรร กม. เที่ยวเปล่า ให้กับกิจกรรมการขนส่ง
   เวลาที่เราวิ่งของเจ้า A ไป B เป็นรถ เปล่า เราจะ Charge ใครดี เพราะเป็น Cost ไม่ว่า จะเป็นครึ่งๆ หรือ Charge A , Charge B เราต้องลองทดสอบดูว่า เราจะ Split Mile อย่างไร ตกเป็นเงินเท่าไหร่บ้าง


อ.เน้น ให้ดูกราฟ ด้านบน ครับ ทำความเข้าใจด้วย

6. Profitability Optimization
Short Haul : manage ยากกว่า

- ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ Profitability Optimization คือ กิโลเมตรเที่ยวเปล่า การช้ประโยนชน์ รายได้ จากรบรรทุกต่อ กม
- ผู้ประกอบการต้องเข้าใจ ค่าคาดหมายของการใช้ประโยชน์ และ กม. เที่ยวเปล่า คิดเป็นสัดส่วนหรือร้อยละเท่าใดของการวิ่งในเครือข่าย ขณะที่ต้องระบุรายได้จากการรถบรรทุก ต่อกม.ที่ต้องคิดกับลูกค้าแตละราย
- โดยปกติ การลำเลียงระยะสั้น (Short haul) และการขนส่งในท้องถิ่นจะมี การวิ่งรถระยะสั้น เกิดสถานการณ์ใช้ประโญนชน์ต่ำ ร้อยละเที่ยวเปล่า สูง อัตราการบรรทุกต่อ กม. (Loaded rate per mile) สูงกว่า การลำเลียงระยะยาว (Long haul)
- ผู้ประกอบการขนส่งระยะสั้น จึงคิดว่าขนส่งสูง เพี่อชดเชยการใช้ Utilization ที่ต่ำและ กม เที่ยวเปล่าที่มีค่าสูง
- รายได้ต่อ กม ของ การขนส่งระยะสั้น มักจะมีค่ามากกว่า ระยะยาว
- ค่าเฉลี่ยของ LOH น้อย
- พนักงานขับรถชอบ Short haul มากกว่า Long haul เนื่องจากไม่อยากไปไกล บ้าน

เราจะทำอย่างไรให้เกิดรายได้ต่อ KM กรณี Short Haul จะต้องบริหารอย่างไร



SH : แม้ว่าเราจะ Charge สูง แต่ Empty + Utilization ไม่ค่อยสูงเท่าไหร่ (เราจะต้องคิดว่าจะมีวิธีการอย่างไร)
LH : แม้ว่า Revenue Permile จะต่ำ แต่ Total Revenue Per truck จะเยอะ

Why? Net revenue per mile ของ Shorthual มีค่าสูงกว่า Longhaul นศ คิดว่า กรณีของ การขนส่งทางอากาศ มีแนวคิดแบบเดียวกันไหม (Shorthaul > Longhual)

- เรา Charge Revnue Permile สูงกว่า เพราะของใน Short haul จะต้อง Serve ธุรกิจแบบ JIT ต้องการความรวดเร็ว จึงสามารถ Charge ได้

การ Charge เงิน มี 3 ส่วน 1: Distance 2 : Time เราสามามารถใช้ Room ของเวลาเพื่อเพิ่มมูลค่าได้ แต่เราต้องำให้ได้จริงด้วย 3 : Liability ถ้าส่งไม่ตรงเวลา ชื่อเสียงก็ไม่ดี  ปัจจุบัน Liability มีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ

7. Preliminary one-way rate

- ต้องมีพื้นฐานมมจากความชำนาญ ด้านการตลาด ไม่ใช่ว่าตั้งมาแข่งขั้นไม่ได้
- ประสบการณ์
- เงื่อนไข และรายละเอียดของ ลูกค้า
- อาจใช้ตารางการคำหนดราคา ในตาราง 4.15

















การ Pricing One way กับ ไปกลับ ไม่ได้ เป็น 2 เท่า โดย ไปกลับ มักจะถูกกว่า

ตาราง Guide Line Pricing



 7.1 ต้นุทนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC)
  บางครั้งการคิดแบบนี้ต้องมีการปรับ อาจะใช้ไม่ได้ตรงๆ

7.2 การปรับปรุงอัตราค่าบรรทุก เช่น กมเที่ยวเปล่า , ระยะทาง ,เวลาหน้าท่า (Dock time),รอบเวลาการขนส่ง

อ.เน้นกราฟด้านล่างนี้ กลับไปดูให้ดี ต้องดูให้เข้าใจ ที่มาของตัวเลข 
ถ้ามีการเปลี่ยน OR ( Operating Ratio ) จะต้องหาค่าในช่องเหล่านี้ได้



การบ้าน อ่าน Paper สรูป งานเดี่ยว 
เกี่ยวกับการหาปัจจัยที่มีผลต่อการคัดเลือกผู้ประกอบการขนส่ง ว่ามีวิธีการคิดในการหาปัจจัยอย่างไร
สรุุป ไม่เกิน 5 หน้า

ว่าเค้าทำอะไร คัดเลือกอย่างไร วิธีการอย่างไร ส่ง 27 ก.พ. 


8. ความสามารถและการจัดสมดุลของข่ายงาน (Network Capacity and balance)

พื้นที่ตลาด (Market area)
มีรถเกินภาระ ไหม เช่น Over supply (Excess Supply) หรือ Over Demand (Excess Demand) จะทำอย่างไรที่จะบริหารจัดการ
ความเสียหาย หรือไร้ประสิทธิภาพในการจัดการ กลายเป็นความสูญเสีย และต้นทุน
   8.1 Real time capacity and balancing
    - ประสานงานกับลูกค้าเพื่อปรับปริมาณความต้องการขนส่งให้เหมาะสม
    - ปรับความถี่และเวลาในการขนส่งส าหรับปริมาณการขนส่งที่เกิน
    - ปรับความต้องการส่วนเกินไปในเวลาถัดไปเมื่อมีรถว่าง
    - ปรับรถบรรทุกอื่นที่ไม่ได้ประจ าเส้นทางเข้ามาส่งสินค้าในพื้นที่

หลายๆ บริษัท จะใช้ระบบ TMS ในการจัดการ
 





    8.2 Capacity and Balance and Pricing Strategy
 dd





http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9580000003888


###################################@6# 20160214#################################

เรียนกับวิทยากร อ. อนิรุจน์ เรื่องการคำนวน Transportation Cost By Excel
Fleet Management

เปนงานอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ Transport ที่จะขจัด คอสที่ไม่จำเปน จัดการให้มีประสิทธิภาพที่สุด และจัดการเกี่ยวกับหน่วยงานภาครัฐ

ต้องมีทั้ง In House (ลงทุนเอง) + Out source (จ้างข้างนอก แบ่งเปน 2 แบบ
 Close Book : จ้างต่อเที่ยว ต่อลัง ต่อ หีบ ไม่รู้โครงสร้างต้นทุนซึ่งกันและกัน
          ข้อดี : สามารถคอนโทรล ต้นทุนแปรตามโวลุ่มได้อย่างดี ต่อหน่วยที่มีเท่าไหร่ คอนโทรลได้ตามราคา
          ข้อเสีย : ด้วยสภาวะปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง เช่นน้ำมัน ทำให้ต้นทุนถูกลง ในส่วนของ Close Book มันมีต้นทุนที่แฝงอยู่ไม่สามารถลดได้ ต้องคุยกัน
Open Book : แบ กระดานให้เห็นต้นทุนทั้งหมด
          ข้อเสีย : ไ่ม่คล่องตัว เวลาผู้รับจ้างลงทุนอะไรต้อง ผ่านผู้ว่าจ้างอย่างเดียว

ส่วนที่เกี่ยวข้อง
- Fleet Design and Analysis
- Vehicle MA
- Vehicle Tracking and Diagnostics
- Driver Management
- Fuel Management
- Health and safety Mangment

Fleet Design
   ใช้ ข้อมูล เงื่อนไข ต่างๆ ของ Operation // Volume // เส้นทางต่างๆ 
   ผลที่ได้ คือ รถที่เหมาะสม จำนวนที่รถที่เหมาะสม
   จะใช้ Inhouse vs outsource อย่างไร

Case Study

สมมติฐานว่ารถ Pickup สามารถ วิ่งได้กี่รอบต่อวัน (เวลา Load + Unload มีเงื่อนไขอะไรบ้าง) เพื่ออกแบบ การหมุนของรถ (ลูกค้าปลายทางรับได้กี่โมง) เรียกว่า Truck Turn 
สมมติว่า รถ 4 ล้อหมุนได้ 2 เที่ยวต่อวัน  6 ล้อ ได้ 1 เที่ยวต่อวัน

ดังนั้นเป็นไปได้ 2 กรณี
รถ 4 ล้อ : 26 คัน
รถ 6 ล้อ : 10 คัน

ถ้าไปจ้างภายนอก ถ้า 
Pickup : 1700 B ต่อเที่ยว หรือ  86000
6 ล้อ : 4100 ต่อเที่ยว   41000

สรุปว่าใช้รถ 6 ล้อ คุ้มกว่า

Case 2 
ถ้าไม่จ้างภายนอก เราบริหารจัดการเอง อันไหนเราจะคุ้ม
กำหนดให้ 
ระยะทางเฉลี่ยต่อเที่ย : 120 Km
Fuel Price : 20 B/ltr

สรุปคือใช้ถ้ามีรถเองต้นทุนจะถูกกว่าจ้างภายนอก แต่แตกต่างกันแบบไม่มีนัยสำคัญ

Overhead ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 10-15% ในบริษัทั่วไป

ถ้าเราบริหารเอง ถ้า Significant ไม่ถึง 10% ควรจะใช้ที่อื่นดีกว่า
ทั่วไปจะมี Escalation Plan (แผนฉุกเฉิน เวลาเกิดขึ้นต้องแจ้งใคร)
ทำ Lab 

###################################@7# 20160220#################################

อ.เน้น อีกครั้ง ถ้าเปลี่ยน เลข OR ไป เราจะทำต่อได้หรือไม่




บทที่ 5 
AHR


ในชีวิตประจำวันเรามีการตัดสินใจหลายอย่าง ถ้าเรามี เพียงเกณฑ์การตัดสินใจเดียว ก็ไม่มีปัญหา
แต่ในความเป็นจริงการตัดสินใจ มีหลายเกณฑ์

เช่น การสั่งซื้อวัตถุดิบ การผลิต ( ราคา , คุณภาพ, ความตรงต่อเวลา , บริการหลังการขาย
ซึ่งมีเกณฑ์มากกว่า 1 เราจะตัดสินใจอย่างไร

การวัดเชิงปริมาณ

การวัดเชิงคุณภาพ

การเปรียบเทียบ ต้องดูบริบทเรื่องที่เปรียบเทียบว่า สามารถเปรียบเทียบกันได้ไหม ควรใช้เกณฑ์เดียวกันหรือไม่ เช่น การซื้อรถ vs ซื้อบ้าน การเปรียบเทียบข้ามสิ่ง ต้องระวัง 
Objective : การเลือกรถ
Criteria : Style, Reliability + Safety, Fuel-economy, Cost
Alternative : Honda City, Toyota Vios, Mazda 2




จุดเด่นของ AHP

1. ให้ผลสำรวจน่าเชื่อถือกว่าวิธีอื่นๆ เนื่องจากมีการเปรียบเทียบเป็นคู่
2. มีลำดับชั้น เลียนแบบวิธีการคิดของมนุษย์
3. ผลลัทธ์เป็นตัวเลข ทำให้สามารถเปรียบเทียบกับอย่างอื่น และจัดลำดับความสำคัญได้
4. สามารถขจัดการตัดสินใจแบบมีอคติได้
5. ใช้ได้ทั้งตัดสินใจแบบคนเดียว หรือหมู่ก้ได้
6. เกิดการประณีประนอม และสร้างประชามติ
7. ไม่จำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ

ขั้นตอนการวิเคราะห์ AHP

1. สร้างแผนภูมิลำดับชั้นหรือแบบจำลองของการตัดสินใจ




2. การให้นำหนักความสำคัญของเกณฑ์การประเมิน




3. นำ ทางเลือก ที่กำหนดไว้ในตอนแรกมาทำการประเมิน ผ่านเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ เพื่อจัดลำดับความสำคัญของทางเลือก


ตัวอย่าง AHP



ข้อสอบ!!! ภาพบน ให้มา 1 แถว ต้องใส่เลขที่เหลือได้ 










อ. สั่งงาน สรุป งานวิจัยอีกครั้ง แล้วบอกว่า แนบตัวอย่าง การเลือกผู้ให้บริการเลือกผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ อ่านเองใน Sheet บทที่ 5 นะครับไม่ได้รวมอยู่ในนี้

บทที่ 6
Transportation Modelling

การทำตัวแบบทางการขนส่ง

ตัวแบบทางการขนส่ง เป็นกระบวนการที่จะหา Least Cost ให้การเคลื่นย้าย (การกระจาย) สินค้า จาก Source -> Destination

ปัญหา Transportation เป็นปัญหา เชิงเส้น (Linear Programming)
Objective Function , Constrain เป็น Linear

สิ่งที่ต้องรู้
1. ที่ Origin Point : ความสามารถ (Capacity) ในการ ผลิต ความจุ สูงสุด ?
2. ที่ Destination Point : ความต้องการ (Demand)  เท่าไหร่ ?
3. Cost เท่าไหร่ ? ในการ Shipping ต่อ 1 Unit ดังนั้น 1 Unit จาก Origin ไปยัง Destination ต่างๆๆ

เช่นการเดินทา 3 เมือง

ค่าที่อยู่ในตารางคือ Transportation Cost โดย I (Des,Evan,Fort) และ J (Alb,Boston,Cleveland)




ที่วงเล็บไว้ในภาพด้านบน คือ ใน 1 วันผลิตได้ กี่ Unit เป็น Capacity (100,300,300)
และ มี Demand (300,200,200)


ภาพ บนเราสามารถเขียน Transportation Matrix โดยผลรวมของแนวตั้งคือ Supply (Capacity)
แนวนอนคือ Demand รวมกัน 700 (ค่าในตาราง คือต่อ 1 Unit)

วิธีที่เราจะใช้คำนวน

* Northwest-Corner Rule 
1. ใช้ Supply ของ Factory ให้หมด
2. ใช้ Warehouse ให้หมด
3. ตรวจสอบ S Vs D ให้ตรงกัน







สังเกต ว่าวิธีนี้ ไม่ดูเรื่อง Cost แต่ Meet D & S ได้หมด ไม่ได้ทำให้ต้นทุนต่ำที่สุด

4200 บาท เป็น feasible solution หนึ่ง แต่อาจจะไม่ใช่ Cost ต่ำที่สุด

* Intuitive Lowest-Cost Method
1. ระบุ Cell ที่มี Cost ต่ำสุด
2. กระจายให้เยอะสุดกับ Cell ที่ Cost ต่ำสุด แต่ไม่เกิน S&D
3. ทำไปเรื่อยๆ







จากวิธีนี้ สนใจ Cost แต่ ปัญหา คือ ถ้ามีการสลับไป มา อาจ ให้ผลต่างกัน ซึ่งอาจจะยังไม่ใช่คำตอบที่ดีที่สุด

* Stepping - Stone

เป็นวิธี ปรับปรุง ผลของ ทั้ง 2 วิธีแรก
วิธีการคือ
1. เลือกช่องที่ไม่ได้ใช้
2. ถ้าเราลองเพิ่ม Unit Cost โดย ใช้ + 1 Unit โดย จะ + เป็น Cycle +-+- จนปิด Loop จะทำให้ Total Cost ต่างไปอย่างไร
    ถ้า ได้ Improvement Index สูงกว่าเดิม ถือว่า วิธี เดิม ดีอยู่แล้ว 
อ่านเอง นะ ไม่ได้ List ไว้ ให้ทำความเข้าใจจากภาพเป็นสำคัญ






จุด FA ขยับแล้ว ได้ Improvement Index รวมลด ลง จะทำการปรับปรุงใหม่
อย่างไร ? 
- ให้ เลือกค่าที่น้อยกว่า ของช่องที่ ติดลบ ออกมา กรณีนี้ คือ FB = 100 ขยับเอาไป + ที่จุด FA แล้ว วน Loop 

คำตอบใหม่จะได้ดังนี้


อ. จะอัฟ Load Case1 ให้ในระบบ


จากโจทย์ เราจะต้องตัดสินใจที่จะเปิด Plant ใหม่ ระหว่าง New Orlean or Houston


###################################@8# 20160227#################################


-*Non Basic Cell : ช่องว่างที่เราจะเลือกเพื่อคำนวน improvement index เรียกว่า
-*Basic Cell : ช่องที่มีเลขอยู่เรียกว่า



สอบ 
ถูกผิด  20 -30 ข้อ 5 ข้อ บรรยาย + คำนวน
1. การคิดต้นทุน และการคำนวน (Business model + One way pricing)
2. AHP 
3. Transportation Problem (North West , Intuitive Low vest cost + Stepping stone)
4. เขียน Formulation 

ดูของ อ.อนิรุธด้วย เรื่อง Fleet Design + Fleet Managment

ข้อสอบ Compere ของ Transport (3 ข้อ ของ Transport)


กรณีที่ supply demand ไม่เท่ากัน จะต้อง เติม Dummy Column

ตัวอย่าง กรณี Supply มากกว่า Demand เกินมา 150 เราจะต้องเติม Dummy Cost 0 ของ Demand เข้าไป ตามภาพด้านล่าง ช่องสีส้ม อ.ไม่ได้ลง Detail ละเอียด



การทำ Stepping stone ถ้าผลรวมของ row + column -1 แล้ว ไม่เท่ากับจำนวนช่องที่ใส่ ตัวเลข จะทำให้ไม่สามารถทำ stepping stone ไม่ได้ จะต้องใส่ เลข 0 ลงไปแทน





Transportation Problem


ภาพบน Cij ประกอบไปด้วย C11 - C23 รวมทั้งหมด เท่ากับ จำนวน ของ Source x Destination = 6

การทำโจทย์ เราจะต้อง Serve ให้พอดีกับความต้องการ โดยที่ต้นทุนต่ำที่สุด

โดย ปัญหา Transport จะเป็น LP ( Linear Programming ) (Objective function and Constrain = Linear)



Objective Function :

   Minimize Ei Ej [Cij x Xij]

ตัว C จะต้องรู้ เราเรียกว่า Parameter
X เรียกว่า Decision Variable




ถ้าจากในตัวอย่าง คือ Min : C11X11 + C12X12 + C13X13 + C21X21 + C22X22 + C23X23

s.t : Subject to = Constrain
ต้องรู้ว่า Capacity ของแต่ละโรงงานเท่าไหร่ ซึ่งจะต้องไม่เกินค่า S
Ej [Xij] <= si             ;  Ai (All i เขียน A กลับหัวนะ) ||||

จากในตัวอย่าง คือ
X11 + X12 + X13 <= S1
X21 + X22 + X23 <= S2

Ei [Xij] = dj               ; Aj

X11 + X21 = d1
X12 + X22 = d2
X13 + X23 = d3

Xij >= 0                     ; Aij || ทุกตัวจะต้องไม่ติดลบ


ออกข้อสอบ!!! เขียน Formulation โดยให้รูป Network ตามภาพตัวอย่างมา ต้องเขียน Xij >= 0 ด้วย ไม่เขียนโดนตัดคะแนน


ตัวอย่าง Power Plant








กรณีที่ Total SP & D ไม่เท่ากัน
เช่น กรณี S > D






กรณีที่ S < D

มีวิธีแก้ 2 วิธี



1 . จะต้องเปลี่ยนเครื่องหมาย ตัวที่ไม่จำเป็นต้องใช้หมด เป็น <= (ถ้าเขียนเท่ากับคือต้องใช้ให้หมด)



2 . เติม Dummy Supply ก็ได้ โดยให้ Dummy เท่ากับสิ่งที่ขาดไป โดยที่ Cost ของ Dummy ไปที่ J ใดๆ จะมีค่าเป็น 0



เราจะสามารถ ใช้ Formulation เป็นเครื่องหมาย = ได้




###################################@9# 20160319#################################

บทที่ 8 Transshipment Problem

Transshipment เป็นการขนส่ง ที่ไม่ได้ถึง Destination ทันที ซึ่งในความเป็นจริง จะมีปัญหาที่ไม่สามารถส่งไปที่ Destination ได้ทันที เพราะ การส่งแบบ Direct transportation มีต้นทุนสูง ซึ่งบางกรณีต้องมีการจัดเก็บก่อน แล้วรอกระจาย

ซึ่งคือ Transportation Problem ที่มี Inter mediate Node (Transshipment Node) ซึ่งบางครั้ง Node นี้อาจมีความต้องการสินค้าบางอย่าง ซึ่ง In-Out ไม่จำเป็นต้องเป็น 0
ทำให้ Transshipment Problem จึงเป็นปัญหาที่ใหญ่กว่า

สามารถ Solve ได้โดย Linear Programming เหมือนเดิม แต่ต้อง Network Representation (วาดรูป)




Formulation : Min EiEj CijXij


General ทั่วไป In Flow + Out Flow = 0 (แต่ความจริงสามารถไม่เท่าก็ได้ สามารถเก็บไว้ได้)

การที่เราจะทำเรื่องนี้ เราต้อง Check Demand (D) กับ Supply (S) ก่อน

กรณีง่ายที่สุด
S = D  ==>  Inflow - Outflow = S or D
S > D  ==> Inflow - Outflow >= S or D
S < D  ==> Inflow - Outflow <= S or D

ตัวอย่าง




ในโลกความเป็นจริง สินค้าต้องผ่านตัวกลาง ในการขนส่ง
เมื่อเราสามารถเขียน Network ตามภาพด้านบนได้ จากนั้นก็จะเขียน LP Formulation ได้ ดังนี้




จากนั้นนำเข้าไป Solve ใน Excel Solver เพื่อหาคำตอบ จะได้ดังนี้



Reduced Cost X23 ตอนนี้ใช้ 0 แต่ถ้ามีการใช้ขึ้นมา Total Cost จะเพิ่มขึ้น $4 /ต่อการเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
เช่นถ้าใช้ ขึ้น 1 จะทำให้ Total Cost = $1154



Slack / Surplus : Binding Constrain / Non Binding Constrain



Binding Constrain : คือ จุดที่เปนข้อจำกัด ของ Feasible Solution

(C1, C2 เป็น Binding Constrain
C3 Non Binding Constrain

ซึ่งจะมีค่า Slack/Surplus มีค่าเป็น 0

(ไปอ่านตัวอย่างการอ่าน Sensitivity Analysis ใน Sheet ต่อ อ.ไม่ได้ลงรายละเอียด)

ตัวอย่าง

Contois Carpets is a small manufacturer of carpeting for home and office installations. Production capacity, demand, production cost per sq. yard and inventory holding cost per sq. yard for the next four quarter years are listed in the table. Note that production capacity, demand, production costs vary by quarter, whereas the cost of carrying inventory from one quarter to the next is constant at $0.25 per sq. yard.

Centois wants to determine how many sq. yards of carpeting to manufacturer each quarter to minimize the total production and inventory cos for the four-quarter period.





Write a transshipment objective function and constraints

Min : 2X15 + 0.25X56 + 5X26 + 0.25X67 + 3X37 + 0.25X78 + 3X48

S = 1800 , D = 1700

Constrain ;

X12 <= 600
X26 <= 300
X37 <= 500
X48 <= 400

X15 - X56 = 400
X26 + X56 - X67 = 500
X37 + X67 - X78 = 400
X48 + X78 = 400

Xij >= 0

Answer 

X15 = 600
X26 = 300
X37 = 400
X48 = 400 (Cap 500)
X56 = 200 (Cap 400)
X67 = 0
X78 = 0

Total Cost = $150

จบ

ปัญหาต่อเนื่อง
Maximum Flow Problem

เราอยากจะส่ง สะเบียง จาก O ไป D ให้ส่งตามความต้องการ จะต้องมีการส่งผ่านหลายเส้นทาง แต่ละเส้นทางจะมีข้อจำกัด เรียกว่า ความจุของเส้นทาง (เหมือนท่อน้ำ ใหญ่ส่งเยอะ เล็กส่งน้อย) จะเกิดปัญหาที่เรียกว่า Maximum Flow คือจะส่ง Volume มากที่สุดได้เท่าไหร่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ Capacity ของ Link

ตามภาพ เส้นทางแต่ละทาง มีความจุไม่เท่ากัน


คำถามคือ จาก 1 ไป 7 จะส่งของสูงสุดได้เท่าไหร่ หากเราใช้ Network นี้

ปัญหา คือเรา จะต้องมีการเติม ตัว Dummy Variable ย้อนกลับมาที่ Origin  จาก 7 ไป 1

Formulation จะ เป็น Maximize  คือการส่งสินค้าจาก Sink -> Source ( 7 - 1 )

Max X71








คำตอบหลังจาก Solve ได้

การใช้ Maximum Flow
เช่น ระบบน้ำมัน ระบบ น้ำ ดูว่าโครงข่ายที่สร้างขึ้นมา สามารถทำให้เกิด Flow สูงสุดได้เท่าไหร่
ดู ว่าการจะร้าง Link ใหม่ มีเงินอยู่จำนวนหนึ่ง ทำยังไงก็ได้ให้ Flow ของเราสูงสุด เราจะเพิ่มตรงไหนดี



###################################@10# 20160326#################################

Assignment Problem (Special Case Transportation Problem)

เราต้องการ minimize total cost เช่นมีคน m คน มีงาน 10 job แต่ละคนมีความสามารถในการ perform ไม่เท่ากัน cost คือ Cij.

ในความเป้นจริงคือ เราจะ Assign งานให้ใครหากเราได้รับงาน มี 4 เจ้า 4 งาน จะเกิด Combination เราจะทำยังไงให้เลือก Total Cost ได้ต่ำที่สุด

ถือเป็น Special Case of Transportation Problem แบบหนึ่ง โดยที่ แต่ละอันมี D และ S = 1




Formulation

Min EiEj (CijXij)

s.t. Ej Xij = 1 for each agent i
Ei Xij = 1 for each task j
Xij = 0 or 1 for all i and j

สัังเกตว่า X จะมี Decision เปน Binary








บางกรณีที่ จำนวน งาน หรือจำนวน Agent ไม่เท่ากัน ถ้าเขียน = 1 จะไม่มีทางหา Feasible solution ได้ เราต้องเปลี่ยน เครื่องหมาย

ถ้า Agent > งาน
Ej Xij <= 1 for each agent i
ถ้า งาน > Agent
ต้องใส่ Dummy Agent เข้าไป เพื่อทำให้เท่ากับจำนวน Task ที่มีอยู่ โดย
Cij ของ Dummy = 0

บางครั้งเราต้องการหา Revenue / Profit เราต้องรู้ ราคาขาย เราจะสามารถ Solve ด้วย Maximize ได้
บางครั้งอาจจะ เขียน ว่าคนนึงรับงานได้ไม่เกินเท่าไหร่ E Xij <= a ก็ได้


ตัวอย่าง Hungry Owner

####### ดู ใน Slide นะครับ หรือสามารถดูได้จากวิธีทำด้านล่าง

วิธีการที่จะ Solve ด้วยมือ
Hungarian Method






https://www.dropbox.com/s/sex0ganzdagkg84/Hungrianl.xlsx?dl=0

ปัญหา Shortest Path เราสามารถหาเส้นทางที่สั้นที่สุด
หากเราต้อง Solve ปัญหานี้ สามารใช้ตัวแบบ โดย ให้ ต้นทางเป็น +1 ปลายทางเป็น -1
โดย Formulation ของ Shortest Path จะเป็นการ Minimize ของ Distance หรือ Cost

(อ.สอนค่อนข้างน้อย คาดว่าไม่ออกสอบนะครับ น่าจะออก Hangarian Method อย่างเดียว)






ทำ Lab ....

###################################@11# 20160xxx#################################




###################################@12# 20160xxx#################################
###################################@13# 20160xxx#################################
###################################@14# 20160430#################################

ทวน สอบ

Set covering + Maximum set covering area

จำนวน ที่น้อยที่สุดที่จะ Cover area

T-Presenter เลือกจุด ที่จะสามารถ Cover Demand ได้ทุกจุด โดยให้ Coverage Distane ต่ำ ที่สุด
หา Location ที่ทำให้ Transportation cost ต่ำที่สุด

ซึ่ง มีระยะเวลาในการเดินทางจากจุด ไปถึงจุด เราจึงต้องระบุ Cadidate


PMED / P Median

Short haul

มีการขนส่ง ทั้ง Pickup + Delivery ใน Loop เดียวกัน หากมีการจัดการดีๆ
ปัญหาที่ต้องไป Visit ทุกจุด เรียกว่า
Traveling Saleman (TSP) Objective function คือ ต้องทำให้ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางต่ำที่สุด โดยมีข้อจำกัด ที่ต้อง Visit ทุกจุด

ใช้ Assignment Problem
ปัญหาที่พบคือ ใช้ไม่ได้จริง คือปัญหา Sub Tour เพราะเราต้องการ สิ่งที่วิ่งไล่เป็น Loop จึงต้อง Add Constraint เพิ่ม โดยการเพิ่ม Sub Tour elimination โดยเพิ่ม Sumation ของ Node ที่เกิด sub Tour ในรอบแรก1


VRP Vehicle routing problem คือการหา Set ของเส้นทาง ที่จะ Minimize (ทำให้ Total Length หรือ Number of Route ต่ำ ที่สุด) ถือเป็น Objective Function

Constraint : Maximum Weight / Volume Limit (น้ำหนักสูงสุดของรถ Vol สูงสุดของรถ)
Maximum Distance / ระยะเวลาในการทำงาน
Assigned :  Time window constraint
                   Ordering ไปเจ้า A ก่อน เจ้า B ที่เป็นข้อจำกัดของ Customer
วิธีการ

1. Sweep ใช้วิธีการมองด้วยตา แต่ใช้ลักษณะ เป็น Radius ออกจาก Depot โดยมีวิธีการ ที่จะกระจายเป็นรังสีออกมา หมุนไป



2. Nearest Neighbor Algorithm
มีการจัดกลุ่ม ที่อยู่ใกล้ๆ กัน เข้ามาก่อน





3. Cluster with Minimum Angle

กลุ่ม
มองแบบ แกนหลัก โดยเลือกตัวที่อยู่ไกล เป้นแกน
จากนั้นเลือกตัวที่เกิดมุมน้อยที่สุดก่อน เข้ามารวมกัน ตัวที่เป็นแกนสีแดง







สังเกตุ จาก  3 วิธี ที่ไม่ต้องคำนวนอะไรมาก แต่ไม่ได้การันตี  Minimum Distance ซึ่งค่อนข้างสมเหตุสมผล

4. Saving Algorithm


ปกติ ี่เมื่อเรามีการ Combined Route เข้าด้วยกัน จะสามารถ ประหยัด จุดที่เป็น เส้นประ จากการเดินทางแบบ Direct Transportation ได้ โดยระยะที่ประหยัดได้คือ

Saving = D(Depot,1) + D(2,Depot) - D(2,1)

ให้ ทำการจัดลำดับ ของการ Save ให้เยอะที่สุด เอาไว้ จากมากสุดไปหาน้อยสุด
แต่การ Combind Route มี Constrain
- ไม่เกิน Max Length
- ไม่เกิน Max Weight

ถ้าเกิด 1 -> 3 มี 2 อยู่กลางทาง สามารถ รวม 2 เข้าไปได้เลย


ตัวอย่าง


























จบ

ตอนสอบ จะสอบ
ตั้งแต่ Mid term จนถึง วันนี้

1. ข้อสอบ จะมี 4 ใน 6 โบนัส 1 ข้อ




























###################################@15# 20160xxx#################################


#### สอบ Final
จะเป็น Model อาจจะมี Solve ด้วยมือ และเขียน Formulation























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น