วันพุธที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

How to set auto update drop down list on google form by App Script (วิธีทำ Auto update ดรอปดาวน์ลิส บน Google Form ด้วย App Script)

สวัสดี

ไม่ต้องเกริ่นกันแล้ว เริ่มกันเลยดีกว่า
จัดแบบง่ายๆ ทำเป็นไวๆ ครับ

1. สร้าง Google Form (Blank) ก่อน



2. จากนั้นจะเจอหน้าจอสร้าง Form ให้ทำการจด (Copy) ID ของ Form ที่เราสร้างขึ้นมาเก็บเอาไว้ก่อน (ID แต่ละไฟล์ไม่เหมือนกันนะ)


3. คลิกที่วงกลมสีแดง เพื่อเปลี่ยนรูปแบบของ Item Content เป็น "Dropdown"

5. คลิกขวาตรงบริเวณ Drop Down เลือก Inspect (Chrome Browser)

6. ค้นหา Tag ที่ชื่อว่า "Item-data-id" แล้วจด (Copy) เลขไว้

7. ไปเปิด Sheet ที่ผูกกับ Google Form ขึ้นมา โดยคลิกที่ Responses แล้วคลิกปุ่มรูป Sheet


8. ตั้งชื่อไฟล์สำหรับเซฟข้อมูล แล้วกด Create / Google จะทำการเปิด App Sheets ขึ้นมา

9. คลิก "+" ด้านล่างซ้าย เพื่อทำการเพิ่ม Sheet ใหม่ ชื่อ "List"  พร้อมใส่ค่าที่ต้องการให้ออกบน Dropdown ลงไปใน Column A


10. คลิกที่ Tool -> Script editor..

11. ให้ทำการวาง โค๊ดนี้ แทนที่ My function 


var FORM_ID = "ใส่ ID ที่ Copy ในข้อ 2";
var ITEM_ID = "ใส่ item-data-id ในข้อ 6";
var VALUES_SHEET_NAME = "List";

function updateDropDown(){

  var form = FormApp.openById(FORM_ID);
  
  var dropdown = form.getItemById(ITEM_ID).asListItem();

  var ss = SpreadsheetApp.getActive();
  var valueSheet = ss.getSheetByName(VALUES_SHEET_NAME);
  
  var valueCol = valueSheet.getRange("A2:A").getValues();
  var lastRow = valueCol.filter(String).length;
  
  var animals = [];
  
  for(var i = 0; i < lastRow; i++)    
      animals[i] = valueCol[i][0];

  dropdown.setChoiceValues(animals);
}

12. ทำการ Save Script โดยไปที่ File -> Save แล้วตั้งชื่อ

13. คลิกที่ปุ่มรูปนาฬิกา -> คลิก "No trigger set up. Click here to add one now"

14. Set Trigger ให้รันทุกๆ 1 นาที และทุกๆ ครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงบน Sheet ตามภาพ ด้านล่าง แล้วกดปุ่ม Save

15. กลับมาที่ Google Form แล้วคลิกปุ่ม Preview มุมบนขวา เพื่อทดสอบ

16. เสร็จ






























วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ความรู้เรื่อง โครงหลังคารถยนต์ รถกระบะ

Credit : www.sjaroen.com

ความรู้เรื่องโครงหลังคารถยนต์

การประเมิณราคา

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับราคาของตัวหลังคาแบ่งได้ 3 ส่วนหลักคือ
  1. ความสูงของโครงหลังคา ต้องการความสูงเท่าไหร่ ตามมาตรฐานทั่วไป ความสูงของหลังคาวัดจากพื้นกระบะ 180 เซนติเมตร (1.8 เมตร)
  2. วัสดุที่ใช้ทำ แบ่งออกได้ 3 ชนิดหลักๆ คือ
    1. พลาสวู๊ด เป็นแผ่นพีวีซีชนิดแข็ง มาตรฐานความหนาของแผ่น x mm
    2. อลูมิเนียม เป็นระบบยิงกาวทั้งคัน มาตรฐานความหนาของอลูมิเนียม 1 mm (เบอร์ 19)
    3. ผ้าใบ + ลวดตะแกรง
  3. อุปกรณ์เพิ่มเติม และลักษณะพิเศษอื่นๆ ได้แก่ จำนวนประตู ไฟท้าย ไฟเพดาน พ่นสี กระจกท้าย กระจกข้าง ถอดกระบะ อื่นๆ
ความรู้ในการสั่งโครงหลังคารถ (สำหรับ ร้าน ส.เจริญการช่าง)
  1. ระบุ ยี่ห้อ + รุ่น ของรถที่จะนำมาติดตั้ง กรณีเป็นรถเก่า อายุการใช้งานมากกว่า 1-2 ปี จำเป็นต้องนำรถเข้ามาวัดความฉีกของกระบะตามการใช้งาน ประมาณ 10-15 นาที
  2. ต้องการความสูงเท่าไหร่วัดจากพื้นกระบะ ต้องการวัสดุชนิดใด และต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติมหรือลักษณะพิเศษอื่นใด
  3. อนุมัติใบเสนอราคาของทางร้าน พร้อมทั้งมัดจำเป็นจำนวน 40% ของราคาสินค้า (โดยวิธีการโอนเงินผ่านบัญชีธนาคาร)
  4. ใช้เวลาในการผลิต เป็นเวลาโดยประมาณ 7 วัน นับจากวันที่ชำระเงินมัดจำ (ไม่จำเป็นต้องนำรถมาทิ้งไว้ที่ร้านในระหว่างเวลาทำการผลิต)
ความสูงของหลังคา

           ตาม พรบ.การขนส่งทางบก รถกระบะวัดความสูงจากพื้นรวมหลังคาแล้ว มีความสูงได้ 3.80 เมตร หากมีความกว้างไม่เกิน 2.30 เมตร ให้มีความสูงได้ไม่เกิน 3 เมตร

ข้อควรรู้ก่อนการติดตั้งหลังคารถ
           ตาม พรบ.การขนส่งทางบก ในการติดตั้งโครงหลังคาหรือโครงเหล็ก ลงบนตัวรถ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงตัวรถหรือส่วนหนึ่งส่วนใดให้ผิดไปจากรายการที่จดทะเบียนไว้ เจ้าของรถจะต้อง นำรถเข้ารับการตรวจสภาพเพื่อขอแก้ไขรายการในใบคู่มือจดทะเบียนรถ (อาจมีการเสียภาษีเพิ่ม) ยังสำนักงานขนส่งที่รถนั้นจดทะเบียนไว้ พร้อมหลักฐานได้แก่
  1. ใบคู่มือจดทะเบียนรถ
  2. ใบเสร็จค่าติดตั้ง โครงหลังคาหรือโครงเหล็ก
  3. สำเนาทะเบียนบ้าน
  4. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
           กรณีจดทะเบียนในนามนิติบุคคลให้ใช้ หนังสือรับรองบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม และจะต้องพกใบคู่มือการจดทะเบียนรถ ไว้กับตัวรถเพื่อให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ด้วย ซึ่งหากไม่แก้ไขรายการในใบจดทะเบียน จะมีความผิดฐานใช้รถผิดประเภทไปจากรายการ ที่จดทะเบียน ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559

LM6002 : Warehouse Management


LM6002 : Warehouse Management

บทที่ 1

Warehouse มีไว้เพื่อ ?
- เพื่อ match supply and demand ให้ดีมากขึ้น ตอบสนองไวขึ้น
- เพื่อรวม สินค้า และกระจาย (DC) เพื่อให้เกิดการลดต้นทุนในการขนส่งและการจัดเก็บ

Type Of warehouse
- Retail Dc
- Service part DC (DC สำหรับชิ้นส่วนประกอบ)
- Catalog Fulfillment (E-commerce DC) (small item from internet but many order)
- 3PL
- Perishable WH

บทที่ 2

Stock Keeping Unit (SKU) : Unit ที่ เล็กที่สุด ที่ ใช้เก็บใน WH ใช้เรียกสินค้านั้นว่าเก็บอย่างไร เช่น Pallet,Box

พื้นฐานหลักของ WH
- Space เนื่องจากพื้นที่ในคลังมีจำกัด จึงจำเป็นต้องจัดการให้เหมาะสม
- Time เนื่องจาก แรงงาน หรือเวลาที่ใช้ในการทำงานใน WH ล้วนก่อให้เกิด Cost ต้อง จัดการให้เหมาะสม

Flow : Physical Volume
Popularity : จำนวน ครั้งที่ Pick

Storage แบ่งเป็น 2 แบบ
- Share Storage คือ ที่เก็บสินค้าทั่วไป มักใช้พื้นที่ได้เต็มประสิทธิภาพ
- Dedicated Storage คือ การเก็บสินค้าเฉพาะบางประเภท เช่น ไวน์ ต้องใช้ ความเย็น เก็บได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น มักใช้พื้นที่ไม่เต็มประสิทธิภาพ

บทที่ 3 WH operation

Inbound Process

- Receiving : การรับสินค้า ต้องตรวจสอบความถูกต้อง
- Put-away : การนำสินค้าไปเก็บภายใน WH จะต้องมีการวางแผนว่าควรจะนำไปเก็บไว้ตำแหน่งใด

Outbound Process
- Order Picking : การหยิบสินค้าตาม Order ที่ได้จาก Pickinglist
- Checking , packing, shipping : การตรวจสอบ การเพิ่ม Valueadded และการ นำส่ง


Operation Costs ที่เกิดขึ้นใน WH

 + Receiving 10%
 + Put Away (เอาของไปเก็บ) :  15%
 + Picking : 55% << ต้องให้ความสำคัญกับ อันนี้มากที่สุด
 + Checking and Packing : 10%
 + Shipping : 10%


เวลามอง Warehouse ให้มองที่เป็น E commerce ที่มีสินค้า หลายๆ อย่าง เช่น Amazon หรือ WH 3PL

ในการเก็บของ ลูกค้า จะทำอะไรบ้าง
- แจ้งว่าเก็บเท่าไหร่ มีรายการอะไรบ้าง

Picking Operation (เป็นส่วนที่มีต้นทุนสูงที่สุด)
- High Cost
- Customer Satisfaction

Shipping : การโหลดของ ขึ้นจะเป็นแบบ FILO เข้าก่อนออกหลัง

Other Operations
- Ticketing/Labeling
- Repacking
- Kitting
- Invoicing

บทที่ 4 WMS

เป็นระบบ ฐานข้อมูลที่ใช้ใน WH ซึ่งจะมีการเก็บข้อมูลของสินค้า และตำแหน่งที่เก็บสินค้า


บทที่ 5 Storage and handling equipment

Storage Equipment อุปกรณที่ใช้ในการจัดเก็บสินค้า
- Pallet Storage : ที่ที่เก็บ Pallet (Pallet มาตรฐาน 1000 x 1200 mm)
  มีหลายแบบ เช่น Single deep rack (rack ที่เก็บได้ ทีละ pallet มีโครงสร้าง support แยกกันอิสระ, Double deep rack คล้ายแบบบนแต่ใใส่ ได้ 2 pallet, Drive Thru Rack ที่รถวิ่งตรงเข้าไปใน Rack แล้วยกวางได้เลย, Push back rack เหมือน 7-11 ที่สอดของจากด้านหลัง,Pallet Flow Rack (มีล้อที่ ฐานไหล ตามแรงโน้มถ่วง)
- Folklift : รถยก เช่น Counter balance lift Truck, Double reach lift truck ยื่นแขนได้ ( สำหรับ Double Deep rack) , Turret truck (Folklift ที่เสียบ rack ด้านข้าง ไม่ต้องหันตัวเวลา วาง), Stacker Crane (เหมือนที่จอดรถอัตโนมัติ สำหรับ AS/RS)

Bin-shelving or static rack



Gravity Flow Rack : rack ใช้แรงโน้มถ่วง ไหล มาด้านหน้า (มีล้ออยู่ใต้ Rack)
Conveyor : รบบ สายพาน
Sortation Equipment : ระบบเรียง ของบนสายพาน ที่เรียงของ เข้ากล่อง และยกขึ้น Pallet

บทที่ 6 Layout of a unit-load area


Rack Or stack ?
ถ้าเกิดว่า ไม่มี pallet rack แล้ววางของซ้อนๆ กัน จะเกิดอะไรกับ สินค้า เราจะตัดสินใจ ใช้ Rack ดีกว่าหรือไม่
- Rack ช่วยลด แรงงานในการหยิบของ / เรียงของ
- Rack ช่วย ระบุตำแหน่งของ pallet ได้
- Rack ช่วยป้องกันสินค้าเสียหาย
- Rack ช่วย Safety

How deep (lane depth)?
1 ช่อง จะ เก็บสินค้าได้กี่ Pallet?


Honeycombing : พื้นที่ ที่สูญเสียไปจากการที่ไม่ได้ใช้เก็บสินค้า เป็นช่อง โหว่ๆ
Deep : ความลึกของช่อง ที่ใช้เก็บ Pallet

Unit Load Area : เก็บแบบไหน Pick แบบนั้น (เก้บ Pallet หยิบ Pallet)
Unit Load Warehouse : ลักษณะการ handle สิินค้าใน WH ที่มีลักษณะแบบ Single Unit ที่มีการรวมแต่ละ Item เข้าด้วยกัน เพื่อการเคลื่อนย้ายที่สะดวก ซึ่งมักจะเป็น Pallet

Flow to architecture (ไปดูนิยามในหนังสือ)


ในการเลือกที่จะวางตำแหน่งใดๆ แบบเป็น Pallet ใน WH โซนที่ สะดวกในการหยิบ ของ จะเรียกว่า Convenient Zone

การจะดู ว่าอันไหนเป็น Convenient Zone คือจะต้องดูตั้งแต่ระยะ จากจุดรับของ ไปถึงจุดเก็บ และ ระยะทางจากจุดเก็บไป ที่จุดส่งของ


Dead Heading Cost (ดูนิยามในหนังสือ)
Cost ที่เกิดจาก การที่ นำสินค้าไปเก็บ หรือ หยิบของ จะมีช่วงที่ ขากลับ หรือ ขาไป เกิดเที่ยวเปล่า

เราจะลด Dead Heading Cost ได้อย่างไร
- Dual Operation (Dual Cycle) : แทนที่ไปเก็บของ แล้วจะตีรถเปล่า กลับ ให้หยิบของมาด้วย


Flow Through
Layout ของ WH มีจุดรับส่ง อยู่คนละที่กัน Convenient zone เป็น เส้นตรง

U-Flow Configuration
Layout ของ Warehouse ที่จุดรับจุดส่งอยู่ที่เดียวกัน มีโอกาศทำ Dual Operation มากกว่า
Convenient zone เป็น 3 เหลี่ยม

** ถ้าจุดรับส่งอยู่ที่เดียวกัน จะทำให้ Convenience Zone เปลี่ยนไป


แต่แบบ U-Flow โอกาศที่จะทำ Dual Operation จะน้อยกว่าแบบ Flow 2

ดังนั้น จึงต้องมีถนนตรงกลาง

Aisle Configuration



Cross Aisle รูปบน Advantage คือ จะง่ายต่อการทำ Dual Operation มากกว่า
Angle Aisle รูปล่าง Advantage ลดระยะทางในการเดินได้ 20% และง่ายในการทำ Dual Operation ข้อเสีย  ต้องมีจุด รับของ / ส่งของที่เดียวกัน

การที่มีถนนอยู่ตรงกลาง Warehouse จะเพิ่มโอกาศที่จะทำ Dual Operation ได้มาก ขึ้น จะช่วยลด Dead Heading Cost
แต่
- ศูนย์เสียพื้นที่ในการเก็บสินค้า
- ความปลอดภัย อาจเกิดอุบัติเหตุ ชนกันได้

Delay Put Away ได้ โดยรอ จนกว่าจะมีการ Pick ของที่บริเวณเดียวกัน

บทที่ xx Extra

Picking Strategies

- Picker to Goods : สินค้าอยู่บน Shelf คนหยิบวิ่งไปหา
- Goods to Picker : สินค้ามาหาคนหยิบ
- Automation : ระบบ จัดการหยิบให้เสร็จ (คนไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง)

Carton = กล่อง, conveyable (วางบนสายพานได้) , คนสามารถ ยกได้, สามารถเก็บบน Pallet ได้

Pick to Order หยิบตามที่สั่งแต่ละครั้ง ใช้คนและเวลามาก

Zone Picking : แบ่งการหยิบของ เป็น Zone เช่น พนง. นี้หยิบโซน A อย่างเดียว
แต่มีข้อเสีีย เพราะบาง โซนอาจไม่ค่อยหยิบ ต้องมีการกระจาย สินค้า ที่หยิบบ่อย ออกให้อยู่ แต่ละโซน เท่าๆ กัน


Cluster Picking : แทนที่จะหยิบทีละ 1 แล้ววิ่งไปส่ง เรื่อยๆ ซึ่งอยู่สูงๆ หรือต้อง Take time จะใช้วิธี รอ รวม Order แล้วค่อยไปหยิบ

Batch Picking : รวม Order หลายๆ ใบ และดู Item ที่เหมือนๆ กัน เช่นสั่งของ เดียวกัน แยก 7 Order แต่ หยิบของเดียวกัน ก็ไปหยิบ 7 ชิ้น
 >> Pick By Line : หยิบเผื่อ ลงมาวางไว้ชั้นล่าง โดยที่ไม่ได้สนใจ Order ที่สั่ง เน้นสะดวก Forecast เอง
 >> Pick to Zero : สั่ง 7 เจ้า เจ้าละอัน ไปหยิบมา 7 อัน ทีเดียว Pick ตาม Order เท่านั้น

Wave Picking : 1 ชั่วโมง Process 1 ครั้ง จะมี Order เท่าไหร่ก็แล้วแต่ ทำเป็นช่วงเวลา

พวก E-commerce จะมีการสั่งบ่อยๆ เดี๋ยวหยิบ เดี๋ยวหยิบ มักใช้ Cluster Picking / Batch Picking
แต่พวก 3PL จะ สั่งครั้งเดียว หยิบ ครั้งเดียว มักใช้

บทที่ 7

Forward Area : เขต พักของที่ใช้สำหรับของที่มี Fast Movement

FA : Forward Area
RA : Reserved Area : ที่เก็บปกติ

เวลาที่ประหยัดได้ s = t2 - t1
spi = s * pi (s =เวลาเฉลี่ยที่เซฟได้, pi = จำนวนครั้งที่หยิบ)

Net benefit = spi - cr * di (cr = Cost of restock time, di = จำนวน pallet ที่นำมา restock)

ตัวอย่างข้อสอบ
#สอบคอมพรีด้วยนะ!!

ในระบบคลังงสินค้าที่มีการ Pick ในระดับกล่อง พิจารณาสินค้า 5 ราการคือ ABCDE
ถ้าเวลาที่ใช้ในการ Pick สินค้าจาก FA = 2 minute ต่อ pick
เวลาที่ใช้ในการ pick ินค้าจาก RA = 6 minute / pick
เวลาที่ใช้ในการ restock = 7 min / pallet
และจำนวน Pick แและ Demand ของสินค้าทั้ง 5 รายการในช่งไตรมาส หนึ่ง และจำนวน location ที่คาดว่าจะใช้ใน FA แสดงในตาราง


สินค้า Picks Demand No of location
A 700 40 4
B 600 30 2
C 900 70 3
D 800 50 2
E 700 60 2

สินค้า Picks Demand No of location Save Restock  Benefit
A 700 40 4 4 7 2520
B 600 30 2 4 7 2190
C 900 70 3 4 7 3110
D 800 50 2 4 7 2850
E 700 60 2 4 7 2380

C มี net benefit สูงสุด
แต่ FA มีจำกัด ถ้าเลือกมาแล้ว มันกินหลาย Location เราควร พิจารณา Location ด้วย เนื่องจาก จะได้ใช้พื้นที่ไปเก็บสินค้าอื่นๆ

เรียกว่า Labor Efficiency = Net benefit / Location

สินค้า Picks Demand No of location Save Restock  Benefit Labor efficiency
A 700 40 4 4 7 2520 630
B 600 30 2 4 7 2190 1095
C 900 70 3 4 7 3110 1037
D 800 50 2 4 7 2850 1425
E 700 60 2 4 7 2380 1190

จะพบว่า D ให้ LE สูงที่สุด
ดังนั้นเลือก อันดับ 1 = D อันดับ 2 = E อันดับ 3 = B

Law of non min all

non : ไม่เก็บสินค้านี้ไว้ใน FA เลย (สินค้าที่ Pick เป็น pallet)
min : ถ้า เก็บใน FA ควรจะเก็บเฉพาะ ของเล็กๆ ให้ใช้ location น้อยที่สุด
all : ของมีเก็บน้อยอยู่แล้ว เอาไปอยู่ FA ทังหมดเลยตั้งแต่แรก


#################################


ถ้าเก็บสินค้าทั้หมดไว้ใน FPA มีแต่ข้อดี คุ้ม
- หยิบได้เร็ว
แต่
- เป็นไปไม่ได้เพราะพื้นที่มีจำกัด
- ใช้ได้ในระดับ carton pick เท่านั้น

Labor Efficiency = (spi-Crdi)/li

s : เวลาที่ประหยัดได้
pi : จำนวนครั้งที่ pick
cr : เวลาที่ใช้ในการ Restock
di : จำนวนกล่องที่หยิบไป
li : จำนวน location ที่ใช้ไป



s/cr = threshold คือ ค่าที่เหมาะสม

ถ้า ปริมานของสินค้าที่จะเอา แล้วไม่เต็ม pallet ถ้า มีค่ามากกว่า TH จะหยิบจาก RA แทน

การพิจารณาว่าสินค้าใด ควรไปเก็บใน FPA มากสุดนั้น ดูจาก
####ข้อสอบ
วิธีการคิดว่าจะหยิบของจาก FA หรือ RA

เช่นถ้า จำนวน pallet หนึ่งมี 48 carton แต่ลูกค้า ต้องการหยิบ 72 carton 
หมายความว่า 1 pallet จะต้องหยิบจาก RA แน่นอน แต่ส่วนที่ขาดอยู่อีก 24 carton จะหยิบจากที่ไหน ??

วิธีคิด

คำนวน Thresthold = S/cr = 1/3

คำนวน di/pi = 24/48 = 1/2 

นำมาเปรียบเทียบ 1/2 > 1/3 ให้หยิบจาก RA แทน

หมายเหตุ
ถ้า Threshold น้อยกว่า di/pi ให้ไปหยิบจาก RA
ถ้า Threshold มากกว่า di/pi ให้หยิบ จาก FA



What is FPA?
- Warehouse within the warehouse
- เนื่องจากเป็นหน่วยที่เล็กใน FPA จึงเก็บสินค้าได้หลายประเภท ทำให้เวลาในการ pick ของ หลายๆ อย่างทำได้ในเวลาอันั้น คือเข้าไปใน FPA ก็อาจได้ของครบตามที่ต้องการ
- ลด Travel Time
- แต่ต้องแลกกับ Replenish Time from bulk storage or RA


EQS : Equal Space


Issues
- สินค้าใดบ้างที่จะอยู่ใน FPA
- จำนวนเท่าใด

ถ้าเก็บไว้น้อย จำนวนไม่พอ ต้อง Replenish บ่อย ก็ แย่
> Fluid Model (ของที่เล็ก ระดับ ทศนิยม เช่น เศษชิ้น ในกลอ่ง)
> สินค้าแต่ละประเภทจะต้องใช้ Storage เท่าไหร่ สำหรับจำนวนนนั้นๆ
> Product layout : slotting กล่าวถึงในลักษณะทางด้าน


Detail Slotting ; การวางของบน Shelf

กรณีถ้าสินค้าที่ เก็บ เป็น Pallet ใน FPA ควรจะ Handle ต่างหาก ถ้าเก็บหน่วยเล็กกว่านั้นควรใช้ Fluid Model

Sku in FPA => Volume vi

Annual Volume => fi
No of Restock per year = fi/vi  (Flow สินค้าใน 1 ปี / Volume ที่เก็บใน FPA)

Restock : Who responsible ?

> Distribution Center ?

(บทที่ 8)

EQS Vs EQT

EQS Strategy = Equal space Strategy เก็บ 5 อย่าง แบ่งพื้นที่เท่ากันหมด
EQT = Equal Time ทำเป็นเวลา Fix


8.3 Comparison with optimal (หน้า 105)
Number of restock Ex8.1
(เน้น)


การคำวน Efficiency หน้า 138

ถ้า shelf ขนาด H = 3.5 , D = 9 , W = 20

Dimension สินค้า : W = 1, L = 2 , H = 3

จะวางสินค้าอย่างไรให้ได้ Eff สูงสุด

1 :  H L W = 4 (1x2x3) / (3.5x9x1)=.761
2 : L H W = 3 (1x2x3) / (3.5x9x1)=.57
3 : W L H = 12 (1x2x3) / (3.5x9x3)=.761
4 : W H L = 9 (1x2x3) / (3.5x9x3)=.857
5 : H W L = 9 (1x2x3) / (3.5x9x2)=.857
6 : L W H = 9 (1x2x3) / (3.5x9x3)=.571

ตอบ เลือก .857 แบบที่ 4 และ 5

Strategy ในการวางของบน Shelf

1. Next Fit

นำตัวถัดไปมาวางเรื่อยๆ ถ้าเต็มแล้ว ปิด shlef เลย ไม่สนใจว่าจะเลือกที่ว่าง หรือไม่

2. First Fit
นำตัวถัดไปมาวางเรื่อยๆ ถ้าวางไม่ได้แล้วขึ้น shelf ใหม่ แต่ทุกครั้งจะลองดู ก่อนว่า ชั้นก่อนหน้ามีพื้นที่เหลือหรือไม่ ถ้าเหลือ ให้วางชั้นก่อนหน้าก่อน

3. Best Fit
จะเลือก Shelf ที่ ดีที่สุด เหลือเนื้อที่เหลือ น้อยที่สุด

4. Worst Fit
จะเลือก Shelf ที่ ใส่แล้วเหลือเนื้อที่ มากสุด

Sort

## สอบ

ข้อสอบ Compre มีออกสอบ ถ้าเกิดว่าโจทย์ไม่ได้บอกให้ประหยัด Shelf ไม่ต้อง Sort เด็ดขาด



## สอบ

ถ้า มี สินค้า 2 รายการต้องการวางคู่กัน ห้ามแยก จะทำอย่างไร
เราต้องตัดออกไป 1 สินค้า โดย เอา ความกว้างมารวมกัน

Golden Zoning

คือ Shlef ที่อยู่ระดับ เอว เป็น Zone ที่หยิบสะดวกที่สุด





การโปรแกรม เชิงพลวัต Dynamic Programming


Concept : "Divide and Conquer"
แบ่งปัญหาออกเป็นขั้นๆ แล้ว ทำทีละลั้น แทนที่จะทำทีเดียวทั้งหมด






Comprehensive ถามอะไรตอบแค่นั้น

6
- U Flow / Flow to ?
- Convenient Zone
- Dual Operation ?
- ข้อดีของ wh ที่เปน แบบ hot aixle
-architecture

 7
- เก็บ pallet pick carton
- forward area (เน้นๆๆ)
- benefit สินค้าที่จะอยู่ใน fw area
- labor efficientcy (LE = (spi - crdi)/li)
- dead heading cost คืออะไร ?

8
- fast pick area (ของระดับชิ้น จะเรียก flow eqs, eqo, eqt)


extra
- picking by zone / cluster / batch / web picking

###############################################################################
FINAL

บทที่ 11
Self-Organizae
- Teamwork, no central planning

Bucket Brigade
- มีหลาย stations
- จำนวนพนักงานน้อยกว่าจำนวน stations
- Carry work forward จนกว่าจะมีใครมารับงานต่อ
- Pull system

ซึ่งควรจะเอาคนที่ทำงานเร็วสุดไว้สุดท้าย (P.172)

บทที่ 12

Automation
Carousels (เป็น Fast Pick area เพราะเก็บระดับชิ้น)
A-frame
##ข้อสอบถามข้อดีข้อเสีย ของ ทั้ง 3 แบบ

Forward area ใช้กับ หยิบเปน กล่อง / carton
Fast Pick area ใช้กับ หยิบระดับชิ้น เก็บ pallet




P.193-195
single - Shortest route model
sequence - Sort order
set of order - spanning tree



















#########################

Cross-dock
: ลดต้นทุนในการขนส่งสินค้า LTL => FTL
Benefit = > Reduce Invenotry Cost

Incoming Doors => Receiving Doors, Strip doors
Outgoing Doors => Shipping doors, Stack doors


Freight Flow
   - Layout => Specification of doors
   - Geometry => Shape of WH
   - Material Handling System => palletjacks, Forklifts.draglines, Conveyors
   - Freight Mix
   - Scheduling



Design

  - Size (จำนวนประตู / ความกว้างประตู) => incoming doors and outgoing doors



###############################################################################

Performance Management

Why do we need measure?
- ความพึงพอใจของลูกค้า



OTIF = On time, Inful
OT = 98% << คนขับรถ
In full = 97% << แผนกที่หยิบของ

OTIF = .98 * .97 * 100% = 95%


Damage Free = 99%
Accurate Doc, Labeling , Invoicing = 97%
Performance Order = .98 * .97 *.99 *.97 * 100%















วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2559

LM7201 : Simulation

Simulation


Simulation : เป็น การเลียนแบบ ระบบจริง  ปกติไม่สามารถจะสร้างได้ในโลกจริง จึงใช้ใน Computer เพื่อทำให้เร็วขึ้นได้ ซึ่งถูกใช้ในหลายๆ Industrial field
โปรแกรมที่ใช้ ในการทำ Simulate เช่น Arena เช่นการจำลองการไหลของ Product ในการผลิต รวมถึง Layout ของทั้งโรงงาน

System

ระบบที่นำมาใช้ในการทำ Simulate
- Bank Operation
- Manufacturing Facility
- Airport Operation
- Transporation Distribution
- Hospital facilities
- Computer network
- Freeway system

Models

ตัวแบบที่จะจำลองการทำงานของระบบ

มีรูปแบบดังนี้
- Physical เช่น จำนวนบ้านเป็น Mock-ups
- Logical เช่น ใช้ Program computer

ก่อนจะใช้ Simulation ต้องมีการ Validate ด้วย

Advantage of simulation

- ยืดหยุ่น
- สามารถมีความไม่แน่นอน ได้
- มี GUI สวยงามใช้งานง่าย

ข้อเสีย
- คำตอบไม่คงที่ ได้แค่ค่าประมาณ
- Random input random output RIRO

Different Kind of simulation
- Static Vs Dynamic
- Discrete
- Stochastic (ลองไปดูความหมายด้วย)



- Replication : การทำซ้ำเรื่อยๆ จะทำให้ Error ลดลง
- Randomness : ทำการทดลองแบบสุ่ม
- Sequential sampling :
- Variance reduction : มีการทั้งกรอบ เพื่อลด Variance


################# เข้า Lab



############### 04/09/16 ################

Introduction Probability

* การจะทำ Simulation ใน Arena ได้เรา จะต้องรู้ Probability

Probability : การระบุ จำนวนของความไม่แน่นอน, ความแปรปรวน, demand ไม่แน่นอน
กระบวนการที่เราไม่รู้ นี่ เราจึงใช้ Simulation มาช่วย
Statistics : การ นำเสนอ จัดการ แปลค่า วิเคราะห์ เพื่อจุดประสงในการช่วยการตัดสินใจ

Role of statistical inference in decision making process

Real world -> data collection -> Estimation of parameter -> calculation of probability -> information for decision making


#รูป Population <> Sampling


Random Vaiable
เป้นตัวที่ช่วยในการอธิบายเหตุการ ต่างๆ ต้องรู้ว่าอะไรเป็นตัวแปรสุ่ม

Distribution Term
Probability mass function (p.m.f)
     สำหรับ Discrete data อ้างอิง ถึงจุด ของข้อมูล บนแกน x
     หนึ่งในนั้น คือ Poison Distribution
Probability density function (p.d.f)
     สำหรับ Continuous data || Integrate จากปลายด้านหนึ่ง ถึงปลายอีกด้านหนึ่ง จะได้พื้นที่ใต้กราฟ = 1
Cumulative distribution function (c.d.f)
     การรวมค่า Probability ที่น้อยกว่า ค่าตัวที่เราสนใจ ใช้ได้ทั้ง Discrete และ Continuous

Distribution

   Discrete
   - Bernoulli
     เกิดจากการลองสุ่ม ซ้ำๆ มี Outcome ได้แค่ T,F แต่ละครั้ง ไม่มีความเกี่ยวโยงกัน ดูว่ามีโอกาศกี่ครั้ง
   - Binomial
     P(x success in n trails)
   - Geometric
     โอกาศที่จะเจอ ค่าที่คาดหวังเป็นครั้งแรก จากการลอง x ครั้ง
     # รูปหน้า 20 โจทย์เรื่องรถตรวจควัน
   - Poisson #ออกสอบ Poison จดสูตรไปด้วย
     ใช้กับการนับ random event (เช่นการนับรถ ในช่วงเวลา ถ้าไม่เร่งด่วนจะมีการกระจายตัวแบบนี้)
lambda ( ค่าเฉลี่ย ในช่วงเวลาที่สนใจ)
     Limitation  : ใช้กับ ความหนาแน่น ของข้อมูลมากไม่ได้
                          Mean กับ Variance เท่ากันในความเป็นจริงไม่ใช่


   Continuous
   - Negative exponential, shifted negative exponential
     Assume ว่าจำนวน Arraival ที่เข้ามา เป็น Poisson
     P ที่จะในช่วงเวลานั้นๆ ไม่มีรถเข้ามาเลย จะเท่ากับ P ที่ Time head way มากกว่าในช่วงเวลานั้น
     กลับไปทบทวนด้วย
   - Symmetrix distribution : Uniform, normal
   - Asymmetrix distribution : Lognormal, Gamma (มีการเบ้ ซ้ายขวา)


   - Extreme Value distribution : Weibull, Gumbel



Queue Model

Common Queuing situation


Arrival Characteristics
- ปกติ Distribution ใช้เป็น Poison
- คำนึงถึงขนาดของ Population
- ลักษณะของการเข้ามา

Waiting-Line Charateristics
-

Service Characteristics
- Service design
- Statistical distribution of service


Service Characteristics
1. Queuing System Design

Single-server , multiple-server
Single-phase, Multi phase



S-S system

S-M system

M-S system

M-M system
เช่น ทำ Passport

(M/M/1) : Makovian Model

M : Possion
M:  Exponential
1 : Single Server

S : Multiple server

D : Deterministic ( Constant)




สอบ คำนวน S-S ###สอบ







#######################

สอบ MIDTERM

- Probability 1 ข้อ คะแนนเยอะ
- Queue 1 ข้อ (มี 3 เรื่อง)
  M/M/1
  M/M/S
  M/D/1
- Statistics for simulation 1 ข้อ (เบาๆ)
- Bonus








Hyptohesis - A premis or claim that we want to test

Null Hypothesis -> H0

สิ่งที่ยอมรับหรือ Accept for a parameter / Previous study / what we believe so far.

Alternative Hypothesis -> H1 (Research Hypothesis)

-> Invole the claim to be test of .
-> Challenge H0

Possible Outcome
-> Reject null hypothesis (H0)
-> Fail to reject H0

################################################################################
################################################################################

หลักการ Fit Distribution

คือ การทำ Chi-Square Test
Step 1 : ตั้ง Null Hypotheis , Alternate Hypothesis
Setp 2 : กำหนดระดับความเชื่อมั่น Alpha กี่ %
Step 3 : หา Sampling + Critical Region ค่าวิกฤต
Step 4 : Compute Statistics
Step 5 : ตัดสินใจยอมรับ H0 หรือไม่

Note ค่า Alpha คิดจาก ด้านขวา มาด้านซ้าย


Error Type



หลักของ สถิติ เนื่องจากการ Error
Significance level : ถ้า Type I ลดลง Type II จะเพิ่มขึ้น (ไม่ได้ลงรายละเอียดมากเท่าไหร่)

Critical Region and Value (สำคัญ)

ใช้ในการตัดสินใจว่าจะ Reject หรือ ไม่ Reject H0 ก



H0 != alpha : 2-Tail test
H0 < alpha or H0 > alpha : 1-Tail Test

อ. สอนเปิดตาราง ด้วย นะ




FINAL

- QUEUE
- SIMULATION
- HYPOTHESIS TESTING



















วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2559

LM6001 : Inventory Management

LM6001 : Inventory Management

Continous Review

(s,Q) สั่งเท่ากันทุกครั้ง เมื่อของลดลงต่ำกว่า s

(s,S) สั่งไม่ เท่ากัน จะสั่งให้เท่ากับ S


Periodic review

(R,S) ถ้าไม่มี Demand เลย จะไม่มีการสั่งซื้อ แต่ถ้ามี D แค่เพีย 1 ก็จะสั่งซื้อ จะพบว่าระบบนี้จะสั่งซื้อบ่อย

(R,s,S)
มี s : reorder point จะต้องต่ำกว่า Reorder point ถึงจะสั่ง



ทำไมถึงต้องมี Inventory ?

Cycle Stock เพื่อให้เกิด Economic Of Scale ให้ setup cost ต่อ หน่วยมีมูลค่าต่ำลง
Demand มีความไม่แน่นอน จึงต้องมี Safety stock / buffer stock
Seasonal inventory เกิดจาก Demand เป็นลักษณะ season / ที่สูงกว่าปกติ ต้องผลิตเก็บไว้
Pipeline Invenotry / intransit inventory ของที่กำลังส่งมาถึง











EOQ


ไม่สอบ การ Diff ใน 6001 แต่อาจจะออกสอบใน Oral Exam อ. แจ๊ค ชอบถาม



การพิจารณา Holding Cost , H

เมื่อ Q เยอะ Holding Cost ก็จะเยอะด้วย ให้ดูว่าค่าไหนแปรพัน ตาม Q ให้นำมาคิดใน Holding Cost ด้วย

Four main components are
1.       Capital cost or opportunity cost (return that company could make on money tied up in inventory)
2.       Inventory service cost (e.g., insurances and taxes)
3.       Storage cost (warehousing space-related costs that change with level of inventory)  ถ้าไม่แปรพันตาม q ไม่เอามาคิด
4.       Inventory risk or shrinkage cost (e.g., obsolescence, damage)  แตกหักเสียหายหรือล้าสมัย




Storage Cost : ปกติ  Cost ใน WH จะมีทั้ง Fix และ Variable ถ้าเป็น Fix จะไม่นำมาคิดเป็น Storage Cost


Capital Cost
Cost of Debt : เรามี หนี้ เราซื้อของมาอยู่ใน WH เรา ไม่สามารถนำของไปจ่ายหนี้ จะเสียโอกาศแทนที่จะมี Cash ไปผ่อน
Cost of Equity : เรามีผู้ถือหุ้น มีโปรเจคที่จะลงทุน แต่เสียโอกาศ

Hurdle rate ผลตอบแทนต่ำสุด ที่จะได้จากธุรกิจทั่วไป


Shrinkage Cost
วิธีประมาณ โดยการเก็บข้อมูลมาแต่ละ Period ว่ามีมูลค่าของที่เสียหายเป็นเท่าไหร่



การพิจารณา Setup Cost , K



EOQ Assumtion

 Demand rate is constant and deterministic
 The item is in the mature stage of the product life cycle
 Order quantity need not be an integral number of units, and
there are no minimum or maximum restrictions on its size.
 The unit variable cost des not depend on the replenishment
quantity
 There are no discounts in either the unit purchase cost or the unit
transportation cost
 The item is treated entirely independently of other items
 Benefits from joint replenishment do not exist or simply ignored
 The replenishment lead time is zero duration
 No shortages are allowed
 The entire order quantity is delivered at the same time
 The planning horizon is very long.
 All parameters will continue at the same values for a long time.



EOQ ไม่ค่อย Sensitive ต่อการเปลี่ยนแปลงของ Parameter เท่าไหร่
ดังนั้น ถึงแม้เราจะไม่ได้ใช้ค่าที่ถูกต้องนักก็ทำให้ Cost ห่างออกไปไม่มาก

ถ้าเราต้องใช้เวลามากมาย เพื่อหา ส่วนประกอบ ของ H/S อาจจะไม่คุ้ม ใช้เพียงค่าประมาณก็เพียงพอ



Inventory Position (IP)
คือ Inv Level + On order inventory ของที่สั่่งแต่ยังไม่มา
ดังนั้นเวลาเราดู เราต้องดูที่ Inventory Position จะดูที่ Inv level อย่างเดียว ไม่ได้


Limit on Oder size
- Maximum time supply or capacity restriction
กรณี ของมีอายุจำกัด จะต้องสั่ง EOQ ตาม Shelf Life
- Minimum order quantity (MOQ)


ทำแบบฝึกหัด ท้ายบท



################################################################

การคิด EOQ กรณีมี Discount





จะมีการคิดแยกแต่ละกรณี ว่ามีส่วนลดเท่าไหร่ แล้ว Anual Average Cost อันไหนต่ำที่สุดเราจะเลือกอันนั้น


กรณี
Transportation Cost

ถ้าเป็น FTL จะเป็น Fixcost จะไปอยู่ใน K
ถ้าเป็น LTL จะคิดเป็นน้ำหนัก จะ ไปอยู่ใน H










News Vendor

หัวใจคือ สามารถสั่งได้ครั้งเดียว ไม่มีโอกาศสั่งเพิ่ม เราต้อง Treah off ระหว่าง Over age vs Under age Cost ให้ได้

ถ้าสั่งมาแล้ว สั่งมามากไป หรือน้อยไป จะมี จุดสมดุลอย่างไร

เช่นสินค้า แฟชั่น / ปฏิทิน / ปลูกกล้วย / หนังสือพิมพ์ / เอาเงินใส่ตู้ ATM

หรือ Product ที่มีอายุการใช้งาน ที่สั้น เช่น Iphone


ทดลองทำ Excel






ด้านบนจะมองกำไรเป็น เกณฑ์

ด้านล่างจะมอง Service Level

1. In stock probability ความน่าจะเป็นที่จะมีของพอ ขาย





2. Fill Rate สัดส่วนของ Demand ที่ตอบสนองได้ (Demand 100 ชิ้น ส่งได้ 90 FR = 90)



Fill Rate : ของขาด 10 ชิ้น กับ ขาด 100 ชิ้น ไม่เหมือนกัน
In Stock P : ของขาด 10 ชิ้น กับ ขาด 100 ชิ้น เหมือนกัน

ซึ่งสินค้าส่วนมาก จะใช้ Fill Rate
แต่ ตู้ ATM กดเงิน ขาด 100 กับ ขาด 500 ก็ โกรธเหมือนกัน ให้ใช้ In Stock


อย่างแรก เราต้องระบุให้ได้ ว่า จะใช้ Service Level แบบใด

เพราะ FR = 95%  = ผลิต 4 ชิ้น
แต่ IS = 95% = ผลิต 5 ชิ้น

ซึ่งโดยปกติแล้ว IS จะ สั่งมากกว่า FR

SS : inv ที่เรา สั่งเกิน Mean

EX 95% FR เราสั่ง 4 ชิ้น เพราะงั้น
SS = 1.72

######## ทำ Assignment (ออกสอบ ใช้ Distribution ธรรมดา)

Binom.dist

มีแค่ success / failure
ทดลอง n ครั้ง นับครั้งที่ออกหัว

มีลูกค้า 10 คน แต่ละคน จะสั่ง หรือไม่สั่งก็ได้ โดยไม่มีความเกี่ยวข้องกัน
คือ จำนวน success จากการทดลอง n ครั้ง

negbinom.dist

มีแค่ success / failure
จำนวน failure
ทดลอง n ครั้ง นับจำนวน ก้อย จนกว่าจะได้ หัว

เช่นใช้ โดรนส่งของ มีโอกาศ success 20% ถ้าต้องไปส่งของ 4 ที่
โอกาศที่จะ success ใน 4 ครั้งเป็นเท่าใด
โอกาศที่จะ success ใน 5 ครั้งเป็นเท่าใด (พลาด ไป 1 ครั้ง)
โอกาศที่จะ success ใน 6 ครั้งเป็นเท่าใด (พลาด ไป 2 ครั้ง)

##############################

ทวนคราวที่แล้ว

เวลาหากำไร


(x-D)+ คือเอาเฉพาะ ค่า + ถ้าติดลบ จะให้เป็น 0

bE[(D-x)+] : จำนวนของที่ขาด

ลองทำ Excel



ถ้า Cu < Co เราจะสั่ง ของน้อยกว่า Mean ถ้าของเหลือ จะเสียมาก จะได้ค่า Critical < .5
ถ้า Cu > Co เราจะสั่ง เยอะกว่า Mean (ถ้าของขาดจะเสียเยอะ มี Penalty) จะได้ ค่า Critical > .5

SS ขึ้นอยู่กับ ระดับการให้บริการ กับ SD เท่านั้น

Sensitivity Analysis

Mean demand ลดลง จะให้สั่ง ลดลง
Higher Service สูง สั่งเยอะ
Overage increase สั่ง น้อยลง
Underage increase สั่งเพิ่มขึ้น


Limited Expected Value (LEV) E[min(x,D)]








########################20161001############################

ทวนก่อนสอบ MIDTERM



Objective
เราต้องหาสินค้าคงลังที่เหมะสมให้ได้

กรณีที่ D ไม่แน่นอน  สามารถมองได้ 2 แบบ
มองจากกำไรสูงสุด
มองจาก Service Level

Key

เราต้อง บอกได้ว่าระบบ ปัจจุบัน ดีแล้วหรือยัง ถ้ายังจะ Improve ได้อย่างไร ซึ่งจะอยู่ในข้อสอบ

Comprehensive Exam


ออกสอบ นะ 30 คะแนน

อันนี้เป็น Multi Period เหลือแล้วขายต่อ ไม่ต้องทำ Cu/Co นะ

กรณี EOQ
จำนวนสินค้าคงลังเฉลี่ย คือ Q/2
สั่งกี่ครั้งต่อปี = เอา D ทั้งปี / จำนวนสั่งซื้อ
ต้องทำให้ได้ !!! บอก นโยบายปัจจุบัน ต้องบอกได้ ว่า INV AVG / จำนวนสั่งต่อปี ให้ได้ จากนั้นจะทำให้เราหา Setup Cost ต่อครั้งได้
และหา Holding Cost ได้

########################################
Type of Inventory
Lead Time : Pipeline inventory (in-trasit stock)




Queing Theory L = lamda W

เช่น คนมาธนาคาร อัตรา 3 คน ต่อนาที และ average waiting time = 5 min / person
L = 3x5 = 15 person




บางทีโจทย์ ไม่ได้บอก K หรือ H มาตรงๆ อาจจะบอก เป็น LTL / FTL ก็ได้

ระวัง หน่วยต้องเปลี่ยนให้เหมือนกัน


ถ้ามี Lead time = 2 จะสั่งของเมื่อไหร่ ต้องดูให้ดี

ต้องดู intransit ด้วย ไม่ใช่นับแต่ inv อย่างเดียว
inv position = ดูในคลัง + สั่งไปแล้ว


EOQ - Extension ไม่ออกสอบ


New Vendor

ปัญหาคือสั่งเท่าไหร่ (ไม่สนว่าสั่งเมื่อไหร่)
สั่งมากเหลือ สั่งน้อย ขาด
Key ที่จะตัดสินว่า เป็น News Vendor คือ มีช่วงการขายในเวลาสั้นๆ


ดูได้ 2 แบบ

ต้องดู Critical Ratio ถ้าจะดู profit
ดู Service Level

กรณี แจกแจง เป็นตาราง ต้องหา Commulative ตัวแรกที่เกิน


Service Level




หน้าด้านล่าง ออกสอบ 10 คะแนน


ตัวอย่าง ใช้ Binomail
ร้าน เบเกอรี่มีเจ้า ประจำ 20 เจ้า แต่ละวันจะสั่งหรือไม่ก็ได้
โอกาศที่จะมาสั่งคือ 80% ดังนั้น Demand ต่อวันจะมี Distribution แบบ
ดังนั้น Demand ที่เปนไปได้ คือ 1 -20
แล้วโอกาศ ที่จะได้ 5 เป็นเท่าไหร่ ??
n = 20, p = 0.8 : = P(D=5) = (20 5) (0.8^5) (0.2^15) =


Negative Binomail
โยน จับ Pokemon จำนวน บอลที่โยน เพื่อให้ Pokemon 5 ตัว






New Vendor Continuous ( ออกสอบเฉพาะ Normal Distribution)



กำหนดปริมาณสั่งซื้อให้ หา กำไร
In-stock Probablity ความน่าจะเป็นที่จะมีของ
Fill Rate


กลับกัน ให้ Service Level แทน



ช่วยเช็คคำตอบ ได้บ้าง ลองดูคำตอบ Make sense ไหม
ถ้า Under Age เยอะ ควรสั่งมากๆ

ไม่ออก Gasso line example.



ออกสอบ Optimization เขียน Math Model ด้วย 10 คะแนน ต้องใช้ Excel Solver ทำ




#################################FINAL######################################











### สอบ ##########################

ต้องรู้ความสัมพันธ์ ทั้งหมด
เช่น CSL ไม่ถึง ต้องเปลี่ยนอะไร
Back order สูงไป ต้องเปลี่ยนอะไร ?


############################################################################
Joint Replenishment








ดู Repoder Pointer (s) ก่อน ว่าจะต้องสั่งไหม ถ้าไม่สั่งก็ปล่อย
แต่ถ้าสั่ง เราจะดูว่าตัวไหนรวมได้บ้าง
ตัวที่รวมได้คือตัวที่มี Inventory position ต่ำๆ แต่ยังไม่ถึง Reoderpoint (น้อยกว่า = Can order level) ถ้าต่ำกว่าก็จะสั่งรวมกับ สินค้า ที่จะต้องสั่งในรอบนั้นๆ




Determisitic
แน่นอน

 - demand คงที่ : EOQ << / Constant
 - demand ไม่คงที่ : Lotsizing W/o SS

random
ไม่แน่นอน
 - mean คงที่ Continous reivew (s,Q) (s,S) / Periodic Reivew (R,s),(R,s,S) << /Stationary
 - mean ไม่คงที่ Lot sizing with SS  << /non-Stationary



Cofficient of variation
CV = STD/Mean



Multi echelon
คือมีสินค้าคงคลังหลายระดับ




################### คาบสุด ท้าย ############################

Risk pooling strategies

ถ้า Leadtime ไม่แน่นอน หรือ SD ไม่แน่นอน ก็จะทำให้ SS เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ SS ทั้งปีเพิ่มขึ้น
วิธีที่จะลด SS ลง มี 3 แบบบ

Supply Chain
Production process
Product

Pool - Location
แต่ก่อนมีอยู่ 3 พื้นที่การขาย แต่ละพื้นที่การขายจะมีเก็บสินค้าเอาไว้ แต่ถ้าเรา Pool รวมจาก 3 อัน มาเก็บไว้ที่ DC ใหญ่ที่เดียว แล้วค่อยส่งตรงไป SS สำหรับแบบรวมจะต่ำกว่า เพราะ SD ของ Demand รวม จะน้อยกว่า


เส้นสีดำคือ รวม ทั้ง 3 ที่

Holding Cost ประกอบไปด้วย Cycle stock + in transit stock + SS

in transit คิดจาก DL เช่น Demad 10 ช่วง lead time x lead time 30 = 30 (ไม่เกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอน ไม่ว่าจะ Pool หรือไม่ ก็ไม่มีผล)

ดังนั้นประโยชน์จากการ Pooling อยู่ที่ SS เท่านั้น

#### สอบ ต้องคำนวนตัวเลขในตารางได้ นะ

แต่การทำ Pooling แบบนี้จะทำให้ Transportation Cost เพิ่มขึ้น


Pool - Product ให้น้อยลง
Pool - Lead time




สอบ Final

35%
ตัด B 50%

1 อยากจะทำให้ Cost ต่ำสุด จะต้องมี inv เท่าไหร่
2. ถ้ากำหนดระดับการให้บริการจะต้องใช้ SS OUTL เท่าไหร่

3. ถ้าทราบระบบปัจจุบันเป็นอย่างไร จะมีแนวทางปรับปรุงระบบ ปัจจุบันอย่างไร เช่น ถ้าสั่งบ่อยเป็น Continous review lot size reorder point เค้าคิดว่าระบบ ปัจจุบันสั่งบ่อยเกิน ควรเปลี่ยนที่ Q หรือ ROP ตอบ เปลี่ยน Q เพื่อทำให้ Order F ลดลง

หรือ ตอนนี้ระดับการให้บริการแบบ CSL ต่ำไป เราควรเพิ่ม ROP

Lead time ลดลงมีผล ให้ SS ลดลง Pipeline (Intransit) ลดลง

ข้อสอบ

- Demand คงที่ EOQ
- Demand ไม่แน่นอน / 1 Period (News Vendor)

ออกตั้งแต่หลัง MID

- Demand ไม่แน่นอน / 1 Period (News Vendor) ตอบ ซื้อเท่าไหร่ / Multi period ตอบ ซื้อเท่าไหร่ สั่งเมื่อไหร่ (Continuous / Periodic Review)
- Extension Joint replenishment สั่งรวมกัน
- Lot sizing (Demand ไม่แน่นอน หรือ ไม่คงที่)
- Multi Echelon
- Risk Pooling





หน้าสำคัญ
Continuous Reivew สนใจ DL
เช่นทราบระบบปัจจุบัน รู้ ROP Q Lot size จะต้องสามารถคำนวน Q/2 Cycle stock / backorder/ ss ระดับการให้บริการเป็นเท่าไหร่ เช่น Q = 100 / ROP = 240 จะได้ทำให้ CSL ? FR ? back order ? สั่งของปีนึงกี่ครั้ง
ถ้าไม่ได้ CSL ตามต้องการจะเปลี่ยน Q หรือ ROP เช่นจากเดิม CSL 60% จะเพิ่มเป็น 90% จะต้องใช้ ROP เท่าไหร่ (สูตร DL x kZigma ระวังหน่วยด้วย ถ้า เป็น SD จะคูณ SQRT นะ)

ถ้าใช้ CSL / FR ใช้สูตรตามภาพด้านบนให้ถูก